IoT ClassRoom

IoT ClassRoom

ให้ความรู้การสร้างสิ่งประดิษฐ์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP Arduino การสร้าง Web Application

25/04/2024

ศึกษาการใช้งาน Rule Chain ของ ThingsBoard ผ่านการแจ้งเตือนไปที่ Line Notify

สนใจสมัครเข้าคอร์ส
https://www.facebook.com/groups/963572730932012/permalink/1463562084266405/

25/04/2024

เรียกรับข้อมูด้วย Excel
นำข้อมูลไปแสดงด้วย Grafana

สนใจคอร์สนี้รายละเอียดในลิ้งค์
https://www.facebook.com/100001827293027/videos/802503695265727/

12/04/2024

Thingsboard Device Token

ตามที่ทราบกันอยู่แล้วว่า device จะถูกอ้างอิงด้วย token ดังนั้นการสร้าง device จะไม่สามารถใช้ซ้ำกันได้ ความเข้าใจนี้ถูกครึ่งหนึ่ง

การอ้างอิง token ทำเพื่อให้ข้อมูลที่ส่งมาที่ TB บ่งบอกว่าจะถูกนำไปเก็บไว้อย่างไร ซึ่งเราจะเห็นข้อมูลที่ส่งมาอยู่ใน telemetry ของ device ที่อ้างอิง token นั้น
การรวบรวมข้อมูลเป็นไปได้ที่จะรับมาจากเซนเซอร์หลายตัว ถ้าใช้ token ซ้ำกันไม่ได้ ข้อมูลของเซนเซอร์แต่ละตัวจะถูกเก็บไว้ใน telemetry ของ device แต่ละตัว ทำให้การนำค่าไปใช้มีความยุ่งยาก

แท้จริงแล้ว token สามารถถูกนำไปใช้ได้กับหลายอุปกรณ์ แต่การเชื่อมต่ออุปกรณ์กับ TB จะทำได้ครั้งละหนึ่งอุปกรณ์เท่านั้น อ่านถึงตรงนี้คงจะงงว่าทำไมพูดวกไปวนมา การรับอุปกรณ์ได้ทีละตัวถูกจัดการโดย TB ที่จะตัดการเชื่อมต่ออุปกรณ์ตัวที่ต่ออยู่ออกก่อนและทำการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวที่ร้องขอการเชื่อมต่อ ทำการรับข้อมูลและก็เชื่อมต่อกับอุปกรณ์์ตัวนี้อีกระยะหนึ่ง จนกว่าจะมีการร้องขอการเชื่อมต่อจากอุปกรณ์ตัวเดิมหรือตัวใหม่ ทำวนอยู่แบบนี้

ดังนั้นอุปกรณ์ที่ใช้ token เดียวกันจึงสามารถเชื่อมต่อและสื่อสารข้อมูลกับ TB ได้ทุกตัวแบบไม่พร้อมกัน

TB เองจะมีการสร้าง Timeout เพื่อตัดการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อแล้วไม่มีการสื่อสารใดๆในช่วงเวลาที่กำหนดก็จะถูกตัดออกจากการเชื่อมต่อ

เมื่อทราบเช่นนี้แล้ว โครงการใดที่จำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลจากหลายอุปกรณ์ไว้ใน telemetry เดียวก็สามารถทำได้ตามที่ต้องการ

https://www.facebook.com/groups/963572730932012/permalink/1451884498767497/

11/04/2024

ช่องทางหนึ่งที่จะนำภาพมาใช้งาน

OpenCV ช่วยให้เกิดความสะดวก และ Python ใช้โค้ดสั้นสุดที่จะได้ผลลัพธ์เดียวกันเมื่อเทียบกับการโค้ดด้วยภาษาอื่น

ภาพขึ้นจอได้ด้วย 17 บรรทัด
ลองนำเอาไปต่อยอดใช้งานดูครับ

** ระยะหลังมุ่งเรื่องของการใช้ Computer Vision มาแทนการสร้างอุปกรณ์ hardware ที่ต้องมีพื้นฐานพอควร
*** ใครมีเอ้ะ ทำนี้ได้มั้ย ทำนั้นได้มั้ย ลองมาพูดคุยกันครับ

02/01/2024

ESP32CAM ถ่ายทอดจากหลายตัว ที่นำเสนอใน Reels หลายคลิป ได้ผ่านช่วงทดสอบความน่าเชื่อถือเรียบร้อยแล้ว ขอบอกว่าไม่ใช่การใช้ตัวอย่าง CameraWebserver ผ่านมาที่ ใช้วิธีการ self-organise มาที่ local server ได้ทั้งในเครือข่ายและนอกเครือข่าย มี API ให้นำข้อมูลและหน้าเพจไปวางได้ทั้งใน Blynk, NodeRED, ThingsBoard หรือสร้าง Web Page ขึ้นเอง

ติดตามเร็วๆนี้

24/12/2023

ESP32CAM ยังคงอยู่ใน plan มีหลายแนวคิด ระหว่างเลือกว่าจำใช้แนวคิดไหนจะครอบคลุมมากที่สุด

07/12/2023

ใกล้จะถึงวันปีใหม่ สิบสองเดือนที่ผ่านมา สมาชิกคงผ่านความสำเร็จ ความล้มเหลวมาบ้าง เห็นได้เลยว่าทุกคนไม่ย่อท้อและผลักดันตัวเองให้เข้าสู่โหมดความสำเร็จ ขอส่งความสุขปีใหม่ด้วยคอร์สพิเศษ Modbus 101

คอร์สฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย เข้าลิ้งค์และกรอกแบบฟอร์มเพื่อรับคอร์ส

https://forms.gle/HgzW2A33DoXiasjp9

07/12/2023

Inspiration หรือเรียกง่ายๆว่าลอกแบบความคิด ตัดเรื่องที่ว่าซื้อเอาดีกว่าออกไปก่อน จากสิ่งที่เห็นน่าจะนำเอา ESP32CAM มาทำได้ ใครทำแล้วหรือเห็นแล้วอยากลงมือทำ จัดทำแล้วมานำเสนอโชว์ของกัน ถ้ามี 3D printer คงช่วยให้ได้ package ที่สวยงาม

Photos from IoT ClassRoom's post 05/12/2023

📢 รายการคอร์สล่าสุด (5/12/2566)
📚 รายละเอียดอยู่ในลิ้งค์แต่ละคอร์ส
📩 ต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมอินบ๊อกซ์สอบถามครับ

🎁🎁🎁ใกล้สิ้นปีสนใจของขวัญให้ตัวเอง (@2566)
💰สมัคร 3 คอร์สมีส่วนลด 10%
💰💰สมัคร 5 คอร์สมีส่วนลด 15%
🎉💰💰ส่วนลดสูงสุด 25% พิจารณาจากยอดรวม

*** คอร์สใหม่ล่าสุดเน้นๆแน่นๆกับเรื่อง ThingsBoard และการสื่อสารใช้งาน ร่วมกับ Modbus Protocol

64-1 NodeRED Fundamental (฿850)
https://www.facebook.com/.../permalink/1070879643534653/

64-2 Mesh Network (฿500)
https://www.facebook.com/10000182.../videos/986459535285906/

64-3 Blynk (legacy) Server (฿250)
https://www.facebook.com/10000182.../videos/247475050827297/

64-4 IoT_Server (฿250)
https://www.facebook.com/10000182.../videos/622974999038355/

64-5 REST API (฿250)
https://www.facebook.com/10000182.../videos/653686149094937/

65-1 สร้าง Web Server บน VPS (ต่อยอดจาก 64-4 IoT Server) (฿250)
https://www.facebook.com/1000018.../videos/5069701223062234/

65-2 Grafana (฿250)
https://www.facebook.com/.../permalink/968574587098493/

65-3 Realtime Sensor Monitor (฿250)
https://www.facebook.com/.../permalink/969770550312230/

65-4 All Together (฿750)
https://www.facebook.com/10000182.../videos/452253963117377/

65-5 จริงจังกับ Blynk (฿600)
https://www.facebook.com/10000182.../videos/472320541193331/

65-6 เก็บข้อมูลเซนเซอร์ลง Excel ด้วย Node-RED mobile (฿350)
https://www.facebook.com/.../permalink/985729708716314/

65-7 WebSocket (฿600)
https://www.facebook.com/.../permalink/986496285306323/

65-8 Blynk Dashboard (฿600)
https://www.facebook.com/.../permalink/999027137386571/

65-9 สร้าง Web App ด้วย Vue.js (฿500)
https://www.facebook.com/1000018.../videos/1394347937666170/

65-13 Vue.js Database (MySQL) No PHP (฿350)
https://www.facebook.com/.../permalink/1001415447147740/

65-14 Arduino http OTA คอร์สฟรี
https://www.facebook.com/.../permalink/1004436373512314/

65-16 IoT Server by Home PC (฿450)
https://www.facebook.com/.../permalink/1009084489714169/

65-17 IoT Platform (฿3,000)
https://www.facebook.com/.../permalink/1041241836498434/

65-18 Multi-Camera ESP32CAM (฿250)
https://www.facebook.com/10000182.../videos/598851488552271/

65-19 WiFiManager กับการปรับค่า parameter แบบ On the fly (฿250)
https://www.facebook.com/.../permalink/1114750212480929/

65-20 เขียนโค้ดแบบมั่นใจเมื่อใช้อุปกรณ์หลายตัวร่วมกัน (฿350)
https://www.facebook.com/.../permalink/1122861338336483/

65-21 Low Cost IoT Server on Local PC (฿750)
https://www.facebook.com/.../permalink/1138942140061736/

65-28 Blynk-MySQL-Grafana (฿450)
https://www.facebook.com/.../permalink/1166843680604915/

65-31 Cloud Server on Pi (฿ึ750)
https://www.facebook.com/.../permalink/1173778566578093/

66-1 Project Advisor ( เสนอราคา )
https://www.facebook.com/.../permalink/1259467891342493/

66-2 InfluxDB - Grafana ( ฿850 )
https://www.facebook.com/1000018.../videos/9185194614856095/

66-11 LoRa Multi-node (฿750) https://www.facebook.com/.../permalink/1304232830199332/

66-12 ThingsBoard IoT-Platform (฿1,800)
https://www.facebook.com/.../permalink/6724670964242290/

66-13 Advance ThingsBoard (฿800)
https://fb.watch/mV5hTpR_wY/

66-14 ThingsBoard Devices (Self Organize) (฿500)
https://fb.watch/oiMKmP0ciZ/

66-16 ThingsBoard Power-meter with PZEM004T-100A(V3.0) (฿2,000)
https://fb.watch/oiME7GLQN5/

66-17 ThingsBoard REST API Call (฿1,000)
https://fb.watch/oiMwMbk5uh/

66-18 ThingsBoard Modbus (฿850)
https://www.facebook.com/.../permalink/1383688722253742/

04/12/2023

ตัวอย่างการนำข้อมูลที่รับจากอุปกรณ์ที่ใช้ Modbus protocol มาแสดงผลบน Dashboard ของ ThingsBoard

===================================
คอร์ส 66-18 ThingsBoard ใช้งานร่วมกับ Modbus device
===================================
ใช้อุปกรณ์และเซนเซอร์ที่ใช้ Modbus Protocol สื่อสารส่งข้อมูลและรับคำสั่งจาก ThingsBoard

- เรียนรู้พื้นฐานการสื่อสารด้วย Modbus Protocol
- เข้าใจ Modbus Frame Structure เพื่อให้ด้านส่งและด้านรับสื่อสารกันเข้าใจและไม่เกิดข้อผิดพลาด
- จัดรูปแบบให้ ThingsBoard ระบุ id, function-code, reg ผ่าน ModbusMaster ที่สร้างขึ้นด้วย NodeMCU ไปยัง Modbus Devices ให้ส่งกลับข้อมูลที่ต้องการ
- นำข้อมูลที่ได้มาเพื่อจัดวาง widget ใน ThingsBoard Dashboard
- แนะนำตัวอย่างการสร้าง Modbus Device ขึ้นใช้เอง
- แนะนำวิธีการใช้ XY-MD02 โมดูลอ่านค่าอุณหภูมิและความชื้น
- แนะนำวิธีการใช้ PZEM004T Power Meter อ่านค่าที่เกี่ยวกับการใช้พลังงานไฟฟ้า
- แนะนำวิธีการควบคุม Modbus 4 CH Relay

สามารถนำวิธีการที่แนะนำจากในคอร์สไปใช้กับโมดูลเซนเซอร์ที่สื่อสารแบบ Modbus Protocol อื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สนใจเรียนรู้สมัครเรียนคอร์ส 66-18 ThingsBoard Modbus
ผู้สมัครต้องมีพื้นฐานเรียนรู้คอร์ส 66-12 ThingsBoard IoT Platform เป็นอย่างน้อย

ค่าสมัคร ฿850
โอนเข้าบัญชี SCB 029-2207353
สุพจน์ แซ่เอีย
แจ้งการโอนและระบุอีเมล์แอดเดรส

04/12/2023

ตัวอย่างการนำข้อมูลที่รับจากอุปกรณ์ที่ใช้ Modbus protocol มาแสดงผลบน Dashboard ของ ThingsBoard

===================================
คอร์ส 66-18 ThingsBoard ใช้งานร่วมกับ Modbus device
===================================
ใช้อุปกรณ์และเซนเซอร์ที่ใช้ Modbus Protocol สื่อสารส่งข้อมูลและรับคำสั่งจาก ThingsBoard

- เรียนรู้พื้นฐานการสื่อสารด้วย Modbus Protocol
- เข้าใจ Modbus Frame Structure เพื่อให้ด้านส่งและด้านรับสื่อสารกันเข้าใจและไม่เกิดข้อผิดพลาด
- จัดรูปแบบให้ ThingsBoard ระบุ id, function-code, reg ผ่าน ModbusMaster ที่สร้างขึ้นด้วย NodeMCU ไปยัง Modbus Devices ให้ส่งกลับข้อมูลที่ต้องการ
- นำข้อมูลที่ได้มาเพื่อจัดวาง widget ใน ThingsBoard Dashboard
- แนะนำตัวอย่างการสร้าง Modbus Device ขึ้นใช้เอง
- แนะนำวิธีการใช้ XY-MD02 โมดูลอ่านค่าอุณหภูมิและความชื้น
- แนะนำวิธีการใช้ PZEM004T Power Meter อ่านค่าที่เกี่ยวกับการใช้พลังงานไฟฟ้า
- แนะนำวิธีการควบคุม Modbus 4 CH Relay

สามารถนำวิธีการที่แนะนำจากในคอร์สไปใช้กับโมดูลเซนเซอร์ที่สื่อสารแบบ Modbus Protocol อื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สนใจเรียนรู้สมัครเรียนคอร์ส 66-18 ThingsBoard Modbus
ผู้สมัครต้องมีพื้นฐานเรียนรู้คอร์ส 66-12 ThingsBoard IoT Platform เป็นอย่างน้อย
ค่าสมัคร ฿850

โอนเข้าบัญชี SCB 029-2207353
สุพจน์ แซ่เอีย
แจ้งการโอนและระบุอีเมล์แอดเดรส

04/12/2023

===================================
คอร์ส 66-18 ThingsBoard ใช้งานร่วมกับ Modbus device
===================================

ใช้อุปกรณ์และเซนเซอร์ที่ใช้ Modbus Protocol สื่อสารส่งข้อมูลและรับคำสั่งจาก ThingsBoard

- เรียนรู้พื้นฐานการสื่อสารด้วย Modbus Protocol
- เข้าใจ Modbus Frame Structure เพื่อให้ด้านส่งและด้านรับสื่อสารกันเข้าใจและไม่เกิดข้อผิดพลาด
- จัดรูปแบบให้ ThingsBoard ระบุ id, function-code, reg ผ่าน ModbusMaster ที่สร้างขึ้นด้วย NodeMCU ไปยัง Modbus Devices ให้ส่งกลับข้อมูลที่ต้องการ
- นำข้อมูลที่ได้มาเพื่อจัดวาง widget ใน ThingsBoard Dashboard
- แนะนำตัวอย่างการสร้าง Modbus Device ขึ้นใช้เอง
- แนะนำวิธีการใช้ XY-MD02 โมดูลอ่านค่าอุณหภูมิและความชื้น
- แนะนำวิธีการใช้ PZEM004T Power Meter อ่านค่าที่เกี่ยวกับการใช้พลังงานไฟฟ้า
- แนะนำวิธีการควบคุม Modbus 4 CH Relay

สามารถนำวิธีการที่แนะนำจากในคอร์สไปใช้กับโมดูลเซนเซอร์ที่สื่อสารแบบ Modbus Protocol อื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สนใจเรียนรู้สมัครเรียนคอร์ส 66-18 ThingsBoard Modbus
ผู้สมัครต้องมีพื้นฐานเรียนรู้คอร์ส 66-12 ThingsBoard IoT Platform เป็นอย่างน้อย

ค่าสมัคร ฿850
โอนเข้าบัญชี SCB 029-2207353
สุพจน์ แซ่เอีย
แจ้งการโอนและระบุอีเมล์แอดเดรส

01/12/2023

ขอบคุณทุกท่านที่กดไลค์ถูกใจเพจ ขออีกนิดนึงช่วยกด "ติดตาม" ด้วย เพจจะได้ขยับทำอะไรๆให้ได้มากกว่านี้ ขอบคุณครับ

01/12/2023

ThingsBoard 3.6.1 การสร้าง Dashboard จะต่างจาก 3.5 พอควร ส่วนที่ดีต่อใจคือ เพิ่ม widget ใหม่ๆ มาให้ใช้งานมากขึ้น

=======================
ขั้นตอนการอัพเกรด เข้าดูในลิ้งค์ได้เลย
---------------------------------------

https://thingsboard.io/docs/user-guide/install/upgrade-instructions/

01/12/2023

======================
🤔ติดตั้ง ThingsBoard ผ่าน แต่รันไม่ได้
-------------------------------------

♨สังเกตุว่าตอนติดตั้ง Java เป็น OpenJDK-17 หรืออื่นๆ ต้นเหตุคือสิ่งนี้ ThingsBoard ทำงานบน OpenJDK-11 เท่านั้น

🪡วิธีการติดตั้ง OpenJDK-11 มีขั้นตอนตามนี้ ไม่ต้องติดตั้ง ThingsBoard ใหม่

1️⃣ โหลดไฟล์ ให้เปลี่ยน h--ps เป็น https ไม่งั้นจะโหลดไม่ได้

wget h--ps://github.com/AdoptOpenJDK/openjdk11-upstream-binaries/releases/download/jdk-11.0.16%2B8/OpenJDK11U-jdk-shenandoah_aarch64_linux_11.0.16_8.tar.gz

2️⃣แตกไฟล์

tar -xzvf OpenJDK11U-jdk-shenandoah_aarch64_linux_11.0.16_8.tar.gz

3️⃣ย้ายโฟลเดอร์

sudo mv openjdk-11.0.16_8 /usr/lib/jvm

4️⃣สร้างช่องทางเลือกให้ OpenJDK-11

sudo update-alternatives --install /usr/bin/java java /usr/lib/jvm/openjdk-11.0.16_8/bin/java 1

5️⃣เลือกใช้ OpenJDK-11

sudo update-alternatives --config java

6️⃣เลือกหมายเลขที่เป็น openjdk11 ในที่นี้เลือก 3
There are 3 choices for the alternative java (providing /usr/bin/java).

Selection Path Priority Status
------------------------------------------------------------
* 0 /usr/lib/jvm/java-17-openjdk-arm64/bin/java 1711 auto mode
1 /opt/jdk-11.0.2/bin/java 2 manual mode
2 /usr/lib/jvm/java-17-openjdk-arm64/bin/java 1711 manual mode
3 /usr/lib/jvm/openjdk-11.0.16_8/bin/java 1 manual mode

7️⃣เช็คว่า OpenJDK-11 ถูกนำมาใช้

java -version

ดูผลลัพธ์ ถ้าเห็นแบบนี้ก็โอเค

openjdk version "11.0.16" 2022-07-19
OpenJDK Runtime Environment 18.9 (build 11.0.16+8)
OpenJDK 64-Bit Server VM 18.9 (build 11.0.16+8, mixed mode)

8️⃣ รีสตาร์ท ThingsBoard เช็ค status แล้วรอ

sudo systemctl restart thingsboard
sudo systemctl status thingsboard

9️⃣ไม่ผ่านข้อไหนเขียนมาคุยกันได้

20/11/2023

ช่วงนี้เน้นไปที่ ThingsBoard เรียนเชิญติดตามเพื่อรับเนื้อหาช่วยการสร้างระบบ IoT Platform แบบสมบูรณ์ครบถ้วน

17/11/2023

ุุ66-18 ThingsBoard Modbus MQTT Gateway

ส่งค่า Modbus Sensor ไปเก็บที่ Google Sheet
ช่วงกำลังทำคอร์สนี้อยู่ คิดขึ้นได้ว่าการบันทึกข้อมูลไปที่ ThingsBoard ก็สามารถตอบโจทย์ได้ครบสมบูรณ์ สำหรับการนำไปเก็บไว้ที่ Google Sheet ก็ดูจะเป็นที่นิยมและพูดถึงกันอยู่ไม่น้อย สำหรับขั้นตอนโดยละเอียดจะถูกบรรจุไว้ในคอร์สเป็นโบนัสพิเศษ ติดตามได้ในคอร์สครับ

ส่วนของคลิปที่จะได้เห็นเป็นขั้นตอนในการทำให้สำเร็จ ซึ่งมีจุดสำคัญอยู่ไม่มากนัก ดูตามคลิปแล้วสามารถทำตามได้เลย สำหรับคลิปนี้จะจบลงเพียงในส่วนของการทดสอบผ่าน web browser เท่านั้น สนใจการนำไปใช้กับ Arduino ติดตามได้ในคอร์สครับ เมื่อดูคลิปแล้วและถ้ามีความเข้าใจเรื่องของการใช้ http ไลบรารี่บน Arduino ก็สามารถนำไปต่อยอดใช้งานได้เลย

ขอบคุณที่ติดตามคอร์สต่างๆที่นำเสนอ
รายการคอร์สที่มีอยู่พร้อมรายละเอียดอยู่ในลิ้งค์ครับ
สำหรับ ThingsBoard จะอยู่ท้ายๆรายการ

https://www.facebook.com/groups/963572730932012/permalink/965828740706411/

14/11/2023

Modbus Device

ช่วงเตรียมการสำหรับการคอร์ส 66-18 ThingsBoard Modbus Device เรียนรู้กับการเรียกข้อมูลจากเครือข่าย Sensor ที่ใช้ Modbus เป็น protocol สื่อสาร ตามที่เราท่านทราบกันดีอยู่แล้วว่า Modbus บน RS485 เป็นการสื่อสารข้อมูลที่ได้ระยะทางที่ไกลถึง 1,000 เมตรตามทฤษฎี และมีข้อดีคือการพ่วงเซนเซอร์หลายตัวเข้ากับเครือข่ายทำได้ง่าย เพียงจั๊มสาย A B เข้าไปในเครือข่าย โดยระบุ address ของเซนเซอร์ให้ต่างกัน ก็สามารถสร้างระบบการรับส่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือระดับสูงขึ้นได้แล้ว

สำหรับคลิปนี้เป็นการนำ PZEM004T Power meter มาเป็นส่วนหนึ่งในเครือข่าย Modbus
ปกติ PZEM004T สื่อสารด้วย Modbus RS232 และสามารถต่อพ่วงใช้งานหลายตัวได้พร้อมกัน จากที่ตัวมันเองใช้ Modbus protocol แต่การจัดรูปแบบทางด้านสายสื่อสารจะทำเป็นลักษณะระดับสัญญานแบบ RS232 ทำให้ไม่สามารถนำสายสัญญานเข้าสู่เครื่อข่าย RS485 ได้โดยตรง

จึงได้นำ TTL to RS485 มาคั่นกลาง เพื่อแปลงระดับสัญญานจาก RS232 เป็น RS485 ง่ายๆเพียงเท่านี้ก็สามารถนำ PZEM004T เข้าสู่เครือข่าย RS485 และสื่อสารด้วย Modbus protocol ได้ทันที ทำให้ระยะทางเพิ่มขึ้นจากระดับสิบเมตรเป็นร้อยเมตรได้แบบง่ายๆ

สำหรับคอร์ส 66-18 ThingsBoard Modbus Device จะนำวิธีการสร้าง Gateway เพื่อใช้เป็นตัวกลางในการพูดคุยระหว่างเครือข่ายเซนเซอร์กับ ThingsBoard โดยที่เนื้อหา เช่น
- การนำเซนเซอร์ เช่น PZEM004T, XY-MD02 รวมทั้งแนะนำการสร้าง Modbus เซนเซอร์ขึ้นใช้เอง นำมาสร้างเป็นระบบเครือข่ายที่ทำให้ ThingsBoard สามารถเรียกรับข้อมูลและส่งคำสั่งมาที่ device ได้
- เรียนรู้การสื่อสารแบบ Modbus การจัดรูปแบบตาม Function code การระบุ address ของ device ระบุจำนวนข้อมูลที่ต้องการ รวมทั้งการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล CRC
- เมื่อทราบกระบวนการสื่อสารทั้งหมดแล้ว ทำให้สามารถสร้างโค้ดที่ทำหน้าที่เป็น Modbus Master ที่กระชับตรงไปตรงมากว่าการเรียกใช้งาน Modbus Master ไลบรารี่
- จากการทดสอบโค้ดที่สร้างขึ้น จะไม่พบกับอาการ CRC, Timeout ที่พบเจอเมื่อใช้ ModbusMaster ไลบรารี่

หากสนใจคอร์ส 66-18 รวมทั้งคอร์สอื่นๆ และต้องการนำไปเติมเต็มให้การนำข้อมูลรูปแบบ Modbus ไปใช้ เพียงคอมเม้นต์คำว่า "สนใจ" เอาไว้ ท่านจะได้รับการแจ้งเป็นลำดับต้นๆ เมื่อคอร์สเสร็จเรียบร้อย

ขอขอบคุณที่ติดตามและให้กำลังใจเสมอมา

30/10/2023

สร้าง link ให้เข้าดู Dashboard
เพียงทำให้ dashboard และ device เป็น publish ใครที่ได้รับ link ก็สามารถเข้าดู dashboard ได้

30/10/2023

Modbus Datalogger

หลายคนบอกว่ายุ่งยากกับการทำ DataLogger หลักการจากภาพที่แสดงนอกจากจะต้องรู้เรื่อง Mqtt, NodeRED จะเอาข้อมูลไปฝากก็ต้องรู้เรื่อง Google Sheet อีก ที่มักจะพบว่าส่งข้อมูลไปถี่ๆก็จะเกิดอาการเอ๋อๆได้รับบ้างไม่ได้รับบ้าง ยิ่งถ้ามีลูกค้าหลายเจ้า ก็จะต้องทำทั้งหมดซ้ำอีก ต้องเปิด sheet ใหม่และระบุค่าต่างๆใน NodeRED เพื่อบริการลูกค้าเจ้าใหม่

ThingsBoard ช่วยการเก็บข้อมูลลง Database ทุกครั้งที่มีการอัพเดท จะเลือกดูประวัติย้อนหลังนานแค่ไหน ก็เพียงระบุช่วงเวลา คัดลอกข้อมูล หรือดูค่าขึ้นลงได้ที่ chart ทันที แยกแยะลูกค้าได้ง่ายๆ ThingsBoard รองรับเรื่องนี้ไว่ล่วงหน้าแล้ว ดังนั้นไม่ว่าจะมีลูกค้าเพิ่มกี่ราย ก็ไม่ต้องมาปรับแก้โค้ดส่วนไหนให้ยุ่งยาก

📩 Inbox สอบถาม
>>>> สนใจคอร์ส 66-12 ThingsBoard IoT Platform ติดต่อสมัครเข้าเรียนรู้

28/10/2023

Demo vs CE

ThingsBoard demo ตามชื่อบอกได้ว่าเอาไว้ทดสอบดูความสามารถ
ถ้ามันทำได้ที่ต้องการแล้ว
ควรติดตั้ง CE หรือไม่ มาดูข้อจำกัดของการใช้ demo กัน

สนใจใช้งาน ThingsBoard ต้องคอร์สนี้
https://www.facebook.com/iot.classroom/videos/1017600556059792/

27/10/2023

🧩66-17 ThingsBoard REST API Call

🎯เรียนรู้การเรียกรับข้อมูลจาก REST API นำมาบันทึกไว้กับ ThingsBoard และนำค่ามาป้อนให้กับ widget เพื่อแสดงบน dashboard

♨ตัวอย่าง
1. การรับข้อมูลของ Blynk project ที่ใช้งานอยู่แล้ว โดยไม่ต้องปรับแก้ระบบที่มีอยู่
2. เรียกข้อมูลจาก OpenWeatherMap เพื่อรับรู้สภาพภูมิอากาศของจังหวัดที่สนใจ
3. เรียกรับข้อมูลจาก WAQI เพื่อดูค่าคุณภาพของอากาศ Air Quality Index ที่ได้จากการวัดค่า PM 2.5 สามารถระบุจังหวัดที่ต้องการรู้ค่าได้

🧔ทั้งหมดเป็นความสามารถของ ThingsBoard ในส่วน Rule Chain มีลักษณะการสร้างโค้ดแบบลากวางคล้ายกับ NodeRED ทำการตั้งค่าตามที่ต้องการเพื่อการเรียกรับข้อมูลจาก REST API Server และนำข้อมูลที่ได้รับมาแยกแยะเอาเฉพาะข้อมูลที่ต้องการส่งให้กับ device เพื่อบันทึกและนำไปใช้สำหรับป้อนให้กับ widget เพื่อสร้าง Monitoring Dashboard

🪡คอร์สนี้เป็นเนื้อหาเบื้องต้นเพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับ Rule Engine ที่ประกอบกันอยู่ภายใต้ Rule Chain ซึ่งตัว Rule Engine ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ ThingsBoard แสดงความสามารถที่โดดเด่นออกมาได้ชัดเจนที่สุด ทำให้เห็นว่า ThingsBoard ไม่ได้เป็นเพียง Dashboard ที่แสดงผลบน widget เพื่องานมอนิเตอร์เท่านั้น

👍คอร์สพร้อมให้สมัครเข้าร่วมเรียนรู้ได้แล้ว

🤔ไม่ต้องกังวล แม้ยังไม่ได้ติดตั้ง ThingsBoard Server ก็สามารถเรียนรู้ได้
ด้วยการสมัครใช้ demo version กับ ThingsBoard (มีขั้นตอนเข้าใช้งานมีพร้อมอยู่ในคอร์ส) เนื้อหาใช้ demo version ในการอธิบาย

💵💵💵💵💵💵

ค่าสมัครบุคคลทั่วไป ฿1,000
ค่าสมัครพิเศษ ฿500 สำหรับท่านที่สมัครคอร์ส 66-12 ThingsBoard IoT Platform แล้ว

โอนค่าสมัครไปที่
ธ. ไทยพาณิชย์
SCB 029-2207353
สุพจน์ แซ่เอีย
แนบสลิปและแจ้งอีเมล์ที่ใช้ในการเข้าคอร์ส

💵💵💵💵💵💵

ท่านที่สนใจสมัครคอร์สเริ่มต้นของ ThingsBoard
66-12 ThingsBoard IoT Platform
ค่าสมัคร ฿1,800
โอนค่าสมัครและแจ้งข้อมูลไปที่เดียวกัน
สามาถสมัครคอร์ส 66-17 ที่ ฿500 ได้เช่นกัน
แนะนำ Inbox สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบคุณทุกๆท่านที่ให้การสนับสนุนในทุกๆคอร์ส
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาของทุกๆคอร์สจะนำไปต่อยอดสำหรับการเรียนรู้และเพิ่มความสามารถให้กับผลงานของทุกๆท่าน

20/10/2023

🧩🧩🧩🧩🧩🧩🧩🧩
🧩♨เปิดให้สมัครแล้ว 🧩
🧩🧩🧩🧩🧩🧩🧩🧩
📔คอร์ส 66-16 ThingsBoard Power-meter with PZEM004T-100A(V3.0)

🕵เนื้อหามีทั้งหมด 10 หัวข้อ
1. ตั้งแต่เริ่มเรียนรู้ตัว PZEM004T
2. การกำหนด ID กรณีที่ต้องการใช้ PZEM หลายตัว
3. การใช้งานแบบเบื้องต้น อ่านค่ามาแสดงบน Serial monitor
4. การอ่านค่าจาก PZEM หลายตัวด้วย NodeMCU ตัวเดียว
5. การนำ PZEM แต่ละตัวให้เห็นเป็น device บน ThingsBoard demo
6. การนำค่า Telemetry ที่ส่งมาจาก NodeMCU ใช้กับ widget ของ Dashboard
7. การนำ PZEM แต่ละตัวให้เห็นเป็น device บน ThingsBoard
8. การแสดงรายการ PZEM device บน Dashboard ให้สามารถเลือกดูข้อมูลแยกกัน
9. การใช้ control widget ส่งคำสั่งไปที่ NodeMCU และการตอบสนองคำสั่งที่ได้รับ
10. เพิ่มเติม widget บน Dashboard หลัก แสดงผลของ PZEM ทั้งหมดบนหน้าเดียวกัน

ค่าสมัคร ฿2,000 มีส่วนลดพิเศษ 50% เข้าดูรายละเอียดในลิ้งค์

https://fb.watch/nNzDJmjrjK/

17/10/2023

66-16 ThingsBoard Power-meter with PZEM004T-100A(V3.0)

ดูกันว่าในคอร์สนี้ แนะนำเรื่องใดบ้าง ในการทำ Power-meter Dashboard ด้วย ThingsBoard

ผู้เรียนควรมีพื้นฐานเกี่ยวกับสร้างโค้ดบน Arduino IDE

ถ้ายังไม่เคยติดตั้ง ThingsBoard Server สามารถทำตามเนื้อหาในคอร์สได้ ด้วยการสมัครใช้งาน demo ของ thingsboard.io ซึ่งจะเป็นเวอร์ชั่น 3.6.0

ถ้าติดตั้งแล้วด้วยเวอร์ชั่น 3.5.1 ในบทเรียนมีการแนะนำการสร้าง Dashboard ทั้งบนเวอร์ชั่น 3.5.1 และ 3.6.0

เนื้อหามีทั้งหมด 10 หัวข้อ
1. ตั้งแต่เริ่มเรียนรู้ตัว PZEM004T
2. การกำหนด ID กรณีที่ต้องการใช้ PZEM หลายตัว
3. การใช้งานแบบเบื้องต้น อ่านค่ามาแสดงบน Serial monitor
4. การอ่านค่าจาก PZEM หลายตัวด้วย NodeMCU ตัวเดียว
5. การนำ PZEM แต่ละตัวให้เห็นเป็น device บน ThingsBoard demo
6. การนำค่า Telemetry ที่ส่งมาจาก NodeMCU ใช้กับ widget ของ Dashboard
7. การนำ PZEM แต่ละตัวให้เห็นเป็น device บน ThingsBoard
8. การแสดงรายการ PZEM device บน Dashboard ให้สามารถเลือกดูข้อมูลแยกกัน
9. การใช้ control widget ส่งคำสั่งไปที่ NodeMCU และการตอบสนองคำสั่งที่ได้รับ
10. เพิ่มเติม widget บน Dashboard หลัก แสดงผลของ PZEM ทั้งหมดบนหน้าเดียวกัน

สำหรับท่านที่ลงคอร์ส 66-12 แล้ว คอร์สนี้จะเป็นการต่อยอดและเพิ่มเทคนิคการใช้งาน widget ต่างๆ

สำหรับท่านที่สนใจและยังไม่คุ้นเคยกับ ThingsBoard สามารถทำตามเนื้อหา ซึ่งจะได้ผลลัพธ์ตามที่เห็นในเนื้อหา ส่วนของความเข้าใจเพิ่มเติม ท่านสามารถสมัครคอร์ส 66-12 ภายหลังได้

ุุคอร์ส 66-16 ค่าสมัคร ฿2,000

พิเศษส่วนลด 50% สำหรับท่านที่สมัครคอร์ส 66-12 ไว้แล้ว จ่ายเพียง ฿1,000

ท่านที่ยังไม่ได้สมัคร 66-12 ThingsBoard - Open-sourec IoT Platform สามารถสมัครพร้อมกันและได้ส่วนลดของคอร์สนี้ 50% เช่นกัน (฿1,800 + ฿1,000 = ฿2,800)

*** 66-12 ThingsBoard - Open-sourec IoT Platform ค่าสมัคร ฿1,800

สนใจสามารถ inbox เพื่อสอบถามเพิ่มเติมหรือสมัครเข้าคอร์ส

ค่าสมัครโอนผ่าน
SCB 029-2207353
สุพจน์ แซ่เอีย
จำนวนเงินตามระบุและเงื่อนไขข้างต้น

แนบสลิปและระบุอีเมล์ที่ใช้ในการเข้าเรียนผ่าน Google Classroom

09/10/2023

PZEM004T หลายตัวต่อพ่วงกัน

ถ้ามิเตอร์รวมกันอยู่ที่บริเวณเดียว การอ่านค่าจาก PZEM 2 ตัวหรือมากกว่า สามารถทำได้และรับข้อมูลด้วย NodeMCU ตัวเดียว รายงานผลการอ่านค่าไปที่ ThingsBoard ผ่าน Device Gateway ต้องเขียนโค้ดให้สามารถแยกข้อมูลของ PZEM แต่ละตัว เพื่อให้นำค่าไปแสดงบน Dashboard แยกกันได้ ในส่วนของความต้องการควบคุมใดๆ สามารถทำได้ผ่าน Control widget ซึ่งต้องมีโค้ดรองรับในส่วนนี้ด้วย

Photos from IoT ClassRoom's post 09/10/2023

เตรียมพร้อมเรียนรู้ คอนโด หอพัก อ่านค่าการใช้ไฟฟ้า นำข้อมูลขึ้นบน ThingsBoard

- เรียนรู้ PZEM004T(V3.0) การเขียนโค้ดเพื่อกำหนด address
- ESP8266 ตัวเดียว รองรับ PZEM พ่วงกันหลายตัว กรณีวางมิเตอร์รวมที่จุดเดียว
- ESP8266 หนึ่งตัวกับ PZEM หนึ่งตัว กรณีมิเตอร์ติดตั้งแยกกัน
- วิธีการจัดรูปแบบ device
- ตัวอย่างการสร้าง dashboard แสดงผลและสั่งงานไปที่ ESP8266 ผ่าน control widget

21/09/2023

แก้ปัญหา publish ข้อมูลขนาดใหญ่

ไลบรารี่ PubSubClient กำหนดขนาด buffer ไว้ที่ 256 bytes
กรณีข้อมูลมีปริมาณมาก ให้หาว่าขนาดสูงสุดของข้อมูลมีจำนวนกี่ bytes
นำจำนวนที่หาได้บวกเพิ่มอีก 50 bytes สำหรับ header ต่างๆ
นำตัวเลขนั้นไปกำหนด buffer size ด้วยคำสั่ง client.setBufferSize(size);

ตัวอย่างการกำหนดค่า
void setup() {
pinMode(BUILTIN_LED, OUTPUT); // Initialize the BUILTIN_LED pin as an output
Serial.begin(115200);
setup_wifi();
client.setBufferSize(800);
client.setServer(mqtt_server, 1883);
client.setCallback(callback);
}

20/09/2023

📔เรียนอย่างไรให้เข้าใจ

🧩 คำถามเมื่อเข้าคอร์ส ส่วนใหญ่เกิดมาจากการข้ามเนื้อหา ไม่ต่อเนื่องตามลำดับ

🎯 เหตุผลที่เนื้อหาในคอร์สนำเรื่องของ customers มาพูดก่อนเรื่องของ devices ขอให้ดูการจัดการ customers ในเนื้อหาของคลิปนี้เป็นคำอธิบายที่ดี

🎨 ความสนใจในตัว ThingsBoard มาจากการที่ต้องการแยกความเป็น customer/user ให้ได้สิทธิ์เฉพาะกับ Asset/Device แต่ละตัว การจำกัดสิทธิ์ของ customer/user จึงเป็นเรื่องหลักที่ต้องทำความเข้าใจ ให้สิทธิ์ที่จะใช้งาน asset หรือ device หรือ dashboard ตัวไหนไปกับ customer ไหนได้บ้าง

🕵️‍♀️ การจำกัดสิทธิ์ทำให้สามารถสร้าง dashboard ที่แสดงผลเฉพาะ asset, device ที่เป็นของ customer หรือ user นั้นๆ ผลที่ได้คือ ทำการสร้าง dashboard ครั้งเดียวใช้ได้ไม่จำกัด ซึ่งระบบ login ของ ThingsBoard ทำหน้าที่แยก user ก่อนเข้าใช้งานระบบ ช่วยให้ความต้องการระบบที่ตอบสนองกับ customer/user ทำงานได้เต็มประสิทธิภาพ

สำหรับท่านที่สนใจคอร์สเกี่ยวกับ ThingsBoard ปัจจุบันมีคอร์สต่อเนื่องทั้งหมด 3 คอร์ส ได้แก่
1️⃣ 66-12 ThingsBoard IoT Platform ค่าสมัคร 1,800 บาท
2️⃣ 66-13 ThingsBoard IoT Gateway ค่าสมัคร 800 บาท
3️⃣ 66-14 ThingsBoard Devices (Sale Organize) ค่าสมัคร 500 บาท

สมัครพร้อมกัน 2 คอร์สขึ้นไป มีราคาพิเศษ ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้
โอนค่าสมัครไปที่
SCB 029-2207353
สุพจน์ แซ่เอีย
แนบสลิปและแจ้งอีเมล์เพื่อเข้าเรียนรู้ผ่าน Google Classroom

19/09/2023

❤ 66-14 ThingsBoard Devices (Self Organize)

1️⃣ การสร้าง device ที่จะนำไปใช้กับ ThingsBoard ต้องมีการกำหนดข้อมูลต่างๆลงในโค้ดก่อนการบันทึกโค้ดลงใน MCU ทุกครั้ง ซึ่งเกิดความไม่สะดวกเมื่อต้องการสร้าง device จำนวนมาก เช่น ต้องสร้างรายการ device และการนำ token ที่ได้มาป้อนในโค้ดกับทุก device

2️⃣ การใช้ MQTT Connector ของ IoT Gateway ได้ตัดปัญหาของการนำ token ไปบันทึกลงในโค้ด อย่างไรก็ตามการตั้งชื่อและ profile ก็ยังต้องทำกับโค้ดโดยตรงก่อนบันทึกลง MCU การจะสร้างโค้ดครั้งเดียวให้นำไปใช้ได้กับ device จำนวนมาก ต้องมีการเตรียมการ และวิธีการที่เหมาะสมคือการนำ WiFiManager ที่มีส่วนเพิ่มให้บันทึก Parameter ที่ต้องการไปพร้อมกับการกำหนด SSID และ Password ทำให้เราสามารถโปรแกรมโค้ดเดียวกันลงใน device จำนวนมาก และทำการปรับการทำงานภายหลังด้วยการระบุลงใน parameter โดยการกำหนดค่าจะถูกบันทึกถาวรลงใน File System ของ device ที่จะถูกเรียกออกมาใช้เพื่อปรับการทำงานของ device ทันทีทุกครั้งที่มีการ restart

☎ การสมัครเข้าร่วมคอร์ส
💵 โอนค่าคอร์ส 500 บาท
🏪 ไปที่ SCB 029-2207353
🧔 ชื่อบัญชี สุพจน์ แซ่เอีย
♨️แนบสลิปและแจ้งอีเมล์เพื่อรับข้อความใช้สำหรับการเข้าร่วมคอร์ส

ต้องการให้ธุรกิจของคุณ ธุรกิจ ขึ้นเป็นอันดับหนึ่ง บริการคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ใน Bangkok?
คลิกที่นี่เพื่อเป็นสมาชิก?

วิดีโอทั้งหมด (แสดงผลทั้งหมด)

ศึกษาการใช้งาน Rule Chain ของ ThingsBoard ผ่านการแจ้งเตือนไปที่ Line Notifyสนใจสมัครเข้าคอร์สhttps://www.facebook.com/gr...
67-4 ThingsBoard Rule Chain กับการแจ้งเตือนจาก Alarm ไปที่ Line Notify
นำข้อมูลของ ThingsBoard มาใช้งาน
Thingsboard Device Token ตามที่ทราบกันอยู่แล้วว่า device จะถูกอ้างอิงด้วย token ดังนั้นการสร้าง device จะไม่สามารถใช้ซ้ำ...
Many Devices with One Token
ช่องทางหนึ่งที่จะนำภาพมาใช้งานOpenCV ช่วยให้เกิดความสะดวก และ Python ใช้โค้ดสั้นสุดที่จะได้ผลลัพธ์เดียวกันเมื่อเทียบกับก...
ดึงภาพจาก Image Server นำมาแสดงด้วย OpenCV
ESP32CAM ถ่ายทอดจากหลายตัว ที่นำเสนอใน Reels หลายคลิป ได้ผ่านช่วงทดสอบความน่าเชื่อถือเรียบร้อยแล้ว ขอบอกว่าไม่ใช่การใช้ต...
ESP32CAM ถ่ายทอดจากหลายตัว ที่นำเสนอใน Reels หลายคลิป ได้ผ่านช่วงทดสอบความน่าเชื่อถือเรียบร้อยแล้ว ขอบอกว่าไม่ใช่การใช้ต...
มี ngrok ช่วยเรื่อง url ขอทดลองดูจาก Browser ของ Smart TV จะต้องปรับปรุงหน้าเพจให้ดูดีอีกหน่อย
เรียกดูจาก widget ของ blynk ก็ได้
คิดว่าน่าจะเพิ่ม ESP32CAM ได้อีกหลายตัว ออกอากาศผ่าน ngrok เวอร์ชั่นที่ให้ใช้ฟรี ความเร็วใช้ได้ดี สร้างด้วย nodejs, html...

เว็บไซต์

ที่อยู่

46/59 ซ. นิมิตใหม่ 40
Bangkok
10510