PBA Lab-Mahidol University
Contact information, map and directions, contact form, opening hours, services, ratings, photos, videos and announcements from PBA Lab-Mahidol University, College & University, .
Plant Biology & Astrobotany Laboratory
354B, SC1 Hall, Faculty of Science, Mahidol University
999 Phutthamonthon Sai 4 Rd., Salaya, Phutthamonthon, Nakhon Pathom, 13170 THAILAND
We have visitors! Preparing Thai youth for future space era is one of our goal.
The PBA lab is part of Mahidol Opem House 2022! We are ready to welcome you kids to explore plant biology in space!
🎪“International Student Activity” in event 🎂
You are cordially invited to the festivity of the 64th anniversary of the Faculty of Science, Mahidol University, which will take place on Friday 21st, October 2022, at the Lecture Building, Faculty of Science, Mahidol University. Many activities will be organized from 09:09 a.m. to 1 p.m. (please see the brief program below). In particular, the Office of International Cooperation will showcase a small exhibition and activities from a number of representative countries. The activities include a sampling of international cuisines, music, and a display of national costumes.
💖Please join the celebration and visit our booth to show support as well as to meet your international friends! We look forward to welcoming you!
💥 เตรียมตัวพบกับที่สุดของมหกรรม นวัตกรรมด้านอวกาศของไทย !! กับงาน ‘𝗪𝗼𝗿𝗹𝗱 𝗦𝗽𝗮𝗰𝗲 𝗪𝗲𝗲𝗸 𝗧𝗵𝗮𝗶𝗹𝗮𝗻𝗱 𝟮𝟬𝟮𝟮’ ภายใต้ธีม Space & Sustainability 🌎 🪐
พบกับกิจกรรมและสัมมนา Update ! นวัตกรรมด้านอวกาศมากมาย
🔸 𝗠𝗲𝗲𝘁 𝗞𝗲𝘆𝗻𝗼𝘁𝗲 𝗦𝗽𝗲𝗮𝗸𝗲𝗿𝘀 สุดพิเศษ จากองค์กรอวกาศระดับโลก NASA และ JAXA 🧑🚀
🔸 𝗣𝗮𝗻𝗲𝗹 𝗗𝗶𝘀𝗰𝘂𝘀𝘀𝗶𝗼𝗻 รับฟังเสวนาจากนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยด้านอวกาศของประเทศไทย
🔸 𝗦𝘁𝘂𝗱𝗲𝗻𝘁 𝗦𝗲𝘀𝘀𝗶𝗼𝗻 เวทีนำเสนอผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ด้านอวกาศ จากนักเรียน
🔸 บูธแสดงผลงานเทคโนโลยี นวัตกรรมด้านอวกาศ กว่า 10 บูธ
มาร่วมท่องโลกแห่งอวกาศไปพร้อมกัน 🪐 💫
🗓 ในวันพฤหัสบดีที่ 6 ตุลาคม 2565 (เวลา 9.00-17.00 น.)
📍MaSHARES Co-Working & Maker Space MB มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา
🖌 ลงทะเบียนเข้าร่วมงานได้แล้วตั้งแต่วันนี้ - 1 ตุลาคม 2565
>> https://int.mahidol.ac.th/world-space-week-thailand-2022/
‼️ จำกัดที่นั่ง On-Site เพียง 50 ที่นั่งเท่านั้น ‼️
โดยจะประกาศรายชื่อผู้ที่ได้เข้าร่วมให้ทราบอีกครั้ง
*สำหรับผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วม On-Site สามารถรับชมกิจกรรมผ่านระบบ Online Zoom Meeting ได้เช่นกัน
The 23rd Science Project Exhibition
นิทรรศการโครงงานวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 23
Dr. Supasorn Suwajanakorn
School of Information Science and Technology (VISTEC)
Special Lecture: “Can AI really see now?"
Time 09:00 – 09:45 AM
May 27th, 2022
Registration fee: None (free)
25 February – 20 May, 2022
https://science.mahidol.ac.th/sciex2022/
We were invied to join SSTL's workshop on "Space Technologies for Sustainable Food Systems on Earth" as a panelist member along with researchers from ESA and Waite Research Institute.
All are welcome!
Please join a workshop hosted by SSTL and SFA featuring panal member from SCIN program.
Rarely blooming Wolffia globosa inflorescent photo is now live on Kew’s POWO database. We made it available to the public. Our student discovered the flower during an experiment for HyperGES program-European Space Agency (ESA).
Special thanks to Mahidol’s Center of Nanoimaging (CNI) for your generous accommodation.
https://powo.science.kew.org/taxon/urn:lsid:ipni.org:names:1135607-2
Our baby, space Golden shower trees (Cassia fistula) were offered to the The Princess Royal of Thailand in NSTDA's NAC 2022 opening ceremony.
KU's 2022 big achievement archievement
ครั้งแรกของประเทศไทย ม.เกษตรศาสตร์ ร่วม GISTDA เปิดตัวโครงการร่วม NASA ทำวิจัยการศึกษาผลึกเหลวในอวกาศ
เมื่อวันที่ 18 ก.พ. 65 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสำนักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA) จัดงานฉลองบันทึกความเข้าใจ (MOU) Kasetsart-NASA Memorandum of Understanding Celebration Ceremony พร้อมกับเปิดแถลงข่าวโครงการความร่วมมือวิจัย Liquid Crystal หรือ การศึกษาผลึกเหลว ในอวกาศ ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา (NASA) นับเป็น MOU แรกที่ NASA ลงนามร่วมกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
บันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา (NASA) ในการศึกษาผลึกเหลว หรือ Liquid Crystal ในอวกาศ เป็น MOU แรกที่ NASA ลงนามร่วมกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยทำหน้าที่เป็นผู้สร้างและทดสอบชุดอุปกรณ์การทดลองที่จะถูกส่งขึ้นไปบนสถานีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS) ซึ่ง NASA จะเป็นผู้รับผิดชอบในการขนส่งชุดอุปกรณ์นี้ขึ้นไปบน ISS เพื่อให้นักบินอวกาศของ NASA เป็นผู้ทำการทดลองภายใต้การควบคุมการทดลองโดยทีมนักวิจัยจากประเทศไทย โดยมี ผศ.ดร.ณัฐพร ฉัตรแถม จากภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหัวหน้าทีม
ผู้ร่วมวิจัยในทีมประกอบด้วย ผศ.ดร.อภิชาติ พัฒนโภครัตนา จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ดร.ณัฐวัฒน์ หงส์กาญจนกุล จาก GISTDA โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะเป็นผู้รับผิดชอบ scientific part ของการทดลองนี้ และ GISTDA จะเป็นผู้รับผิดชอบในการสร้างและทดสอบชุดอุปกรณ์ โดยจะมีทีมวิศวกรจาก NASA เป็นผู้กำกับดูแลร่วมกับทีมวิศวกรไทยในการสร้างอุปกรณ์ทั้งหมด ซึ่งการทดลองนี้จะเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยจะได้สร้างอุปกรณ์ขนาดใหญ่เพื่อให้นักบินอวกาศเป็นผู้ทดสอบและทดลองในอวกาศ โดยการสร้างอุปกรณ์นี้ต้องสอดคล้องกับ safety criteria ของการทดลองที่มีมนุษย์เป็นผู้ควบคุมในอวกาศ การทดลองนี้จะเป็นพื้นฐานให้ทีมอวกาศไทยสามารถต่อยอดเพื่อสร้างจรวดส่งไปในอวกาศได้เองในเวลาอันใกล้นี้
อ่านต่อ https://www.nstda.or.th/sci2pub/liquid-crystal-in-space/
Our high school interns from YSC program are on the news!
ม.มหิดล เดินหน้าภารกิจวิจัย “ราชพฤกษ์อวกาศ” เตรียมขยายผลวิจัยปลูกข้าวไทยนอกโลกเพื่อมวล ข่าววิทย์ไทย ม.มหิดล เดินหน้าภารกิจวิจัย “ราชพฤกษ์อวกาศ” เตรียมขยายผลวิจัยปลูกข้าวไทยนอกโลกเพื่อมวลมนุษ....
https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news_3100486
We are on the news! Our new research program for late 2021 under collaboration with Micro-X lab @ Space Centrarium, GISTDA. The project is supported by YSC program, NSTDA.
จิสด้า-มหิดล สนับสนุนทดลองเพิ่มปริมาณสารต่อต้านมะเร็งจากกระเทียมตาแดงในสภาวะแรงโน้มถ จิสด้า-มหิดล สนับสนุนทดลองเพิ่มปริมาณสารต่อต้านมะเร็งจา …
We are on the news! Our new research program for late 2021 under collaboration with Micro-X lab @ Space Centrarium, GISTDA. The project is supported by YSC program, NSTDA.
GISTDA จับมือ ม.มหิดล ทดลองเพิ่มปริมาณสารต้านมะเร็งจากกระเทียมพันธุ์ตาแดง GISTDA และ ม.มหิดล ร่วมสนับสนุนการทดลองเพิ่มปริมาณสารต่อต้านมะเร็งจากกระเทียมพันธุ์ตาแดงในสภาวะแรงโน้มถ่วง.....
Our progress in micro/hyper-gravity experiment @ GISTDA's Micro-X lab.
Our progress in micro/hyper-gravity experiment @ GISTDA's Micro-X lab.
Never stop exploring. Weekend included.
PBA lab @ Center of Nanoimaging (CNI) to observe TLS-01 (Thailand Lunar Simulant) under SEM Hitachi SU8010
Our lab road trip of 2021. We visited GISTDA Space Experiment lab, Astrolab, THEOS-2 inspection facility and ground station, and Space Inspirium.
NASA Research Launches a New Generation of Indoor Farming NASA Research Launches a New Generation of Indoor Farming
🌎🌱 เปิดรายงานผลการทดลองโครงการ Asian Herb in Space (AHiS)
รายงานดีเด่นการทดลองปลูกโหระพาโดยนักเรียนโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
วันอาทิตย์ที่ 28 พ.ย. 64 เวลา 15.00 น.
พบกันที่ Facebook Live: NSTDA SPACE Education
ไขเคล็ดลับทีมนักเรียนจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ผู้คว้าแชมป์รางวัลรายงานดีเด่นจากการแข่งขันโครงการ “Asian Herb in Space (AHiS)” โดยความร่วมมือของ สวทช., JAXA และหน่วยงานพันธมิตร
#พบกับ
👦 ปัณณทัต อรุณพัลลภ (เหว่ยซัน)
ชั้น ม.3 ห้อง 11
👦 ปฐวี จารุกิจขจร (ต้าเหว่ย)
ชั้น ม.3 ห้อง 9
👦 ธชย จารุวิศิษฏ์ (คิริน)
ชั้น ม.3 ห้อง 10
👨🦰 อาจารย์อดิเรก พิทักษ์ (ครูเรก)
ทีม AHiS034 จากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
#ดำเนินรายการโดย
👨🏻🏫 อาจารย์ทัฏพงศ์ ตุลยานนท์ (อ.อาร์ม)
กลุ่มสาขาวิชาชีวนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ฐานชีวภาพอัจฉริยะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
🌱 โครงการ Asian Herb in Space โดยความร่วมมือระหว่าง สวทช. ร่วมกับ JAXA และหน่วยงานพันธมิตร
https://www.nstda.or.th/spaceeducation/ahis/
\🌎 ทีม AHiS034 จากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย 🌱/
📸 🛰️📡🌎🌱 👩🔬🧑🔬👨🔬🌱🌿✍️👩💻🧑💻👨💻🌏
#โหระพา #โหระพาอวกาศ
NSTDA podcast "Sci-เข้าหู" EP24 feature Kasetsart faculties interview about their KU-NASA collaboration in OASIS program.
งานวิจัยอวกาศสำหรับคนไทยไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป เมื่อสองนักวิจัยคนไทยได้มีโอกาสร่วมพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับหน้าจอรุ่นใหม่ เพื่อใช้งานบนยานอวกาศ สามารถตอบสนองการทำงานในสภาวะแรงโมถ่วงต่ำได้ดี
นิตยสารสาระวิทย์ สวทช. ได้รับเกียรติจาก ผศ. ดร.ณัฐพร ฉัตรแถม และ ผศ. ดร.อภิชาติ พัฒนโภครัตนา จากภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สองนักวิจัยคนไทยที่ได้มีโอกาสร่วมเป็นหนึ่งในทีมวิจัย โครงการ Observation and Analysis of Smectic Islands in Space (OASIS) ของ Glenn Research Center ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์วิจัยสำคัญ 10 แห่งของ NASA โดยมีภารกิจหลักในการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการบินและอวกาศ มาร่วมแบ่งปันประสบการณ์และถ่ายทอดเรื่องราวงานวิจัยสุดล้ำ สำหรับนักบินอวกาศ และการใช้ชีวิตบนดาวเคราะห์ดวงอื่นในอนาคต
ติดตามรับฟัง Podcast รายการ Sci เข้าหู ย้อนหลังได้ที่
https://www.nstda.or.th/sci2pub/podcast-sci-in-ear/
https://youtu.be/pzlAfDwrQ_E
🎧 𝗦𝗼𝘂𝗻𝗱𝗰𝗹𝗼𝘂𝗱: https://bit.ly/3CIHAKr
🎧 𝗣𝗼𝗱𝗯𝗲𝗮𝗻: https://bit.ly/3oLa7Kw
🎧 𝗔𝗽𝗽𝗹𝗲 𝗣𝗼𝗱𝗰𝗮𝘀𝘁: https://apple.co/3oRV6Xh
🎧 𝗚𝗼𝗼𝗴𝗹𝗲 𝗣𝗼𝗱𝗰𝗮𝘀𝘁: https://bit.ly/3qZ3GGv
🎧 𝗦𝗽𝗼𝘁𝗶𝗳𝘆: https://spoti.fi/3oSD9b9
Morning webinar with JPL in space omics topic. Big thanks to SSTL for arranging the program.
YSC 2021 project kickoff @ PBA lab
Biotechnological development of plants for space agriculture
If humankind is ever to undertake long-term space missions and colonization, establishing an efficient space farming system would be essential for human survival in space. However, existing crops are not sufficiently cost effective and productive for use on space farms. Hence, we propose a Whole-Body Edible and Elite Plant (WBEEP) strategy for space crop improvement. Relying on plant biotechnology, the WBEEP strategy aims to develop crops with more edible parts, richer nutrient content, higher yields, and higher mineral nutrient use efficiencies for space farms.
Read more: in https://www.nature.com/articles/s41467-021-26238-3
CONGRATULATIONS! Your hard work has paid off ;)
📣 #ประกาศผลรางวัลรายงาน
🌎🌱 โครงการ Asian Herb in Space (AHiS) การทดลองปลูกโหระพาบนพื้นโลกและการทดลองอิสระโดยนักเรียนเปรียบเทียบกับการปลูกบนสถานีอวกาศนานาชาติ เป็นเวลา 30 วันใน Kibo Module ของ JAXA ทำการทดลองโดยนักบินอวกาศญี่ปุ่น โซอิจิ โนกุจิ
🏆 #รางวัลชนะเลิศ
ทีม AHiS034
โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
🏅 #รางวัลรองชนะเลิศอันดับ1
ทีม AHiS219
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา
🏅 #รางวัลรองชนะเลิศอันดับ2
ทีม AHiS045
โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล / โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ตรัง
🏅 #รางวัลนำเสนอดีเด่น (2 รางวัล)
ทีม AHiS150
โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี
ทีม AHiS167
โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
🎖 #รางวัลชมเชย (6 รางวัล)
ทีม AHiS004
โรงเรียนกำเนิดวิทย์ / โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย / โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ทีม AHiS006
โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี / โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน
ทีม AHiS013
โรงเรียนราชินีบน
ทีม AHiS038
โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์
ทีม AHiS057
โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย
ทีม AHiS100
โรงเรียนอุตรดิตถ์
🎖 #รางวัลพิเศษ PBA LAB
ทีม AHiS261
โรงเรียนนครขอนแก่น
ทางโครงการจะติดต่ออาจารย์ที่ปรึกษาประจำทีมเพื่อประสานเรื่องการรับรางวัลต่อไป
ประกาศ ณ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2564
สามารถดูรายชื่อทีมได้จากลิงก์ด้านล่าง
https://www.nstda.or.th/jaxa-thailand/ahis-report-awards/
โครงการ Asian Herb in Space โดยความร่วมมือระหว่าง สวทช. ร่วมกับ JAXA และหน่วยงานพันธมิตร
https://www.nstda.or.th/jaxa-thailand/ahis/
🙏 ขอขอบคุณผู้ใหญ่ใจดีที่ให้การสนับสนุนสนุนรางวัล และการจัดส่งเมล็ดพันธุ์ในครั้งนี้ ได้แก่ NSTDA - สวทช. / PBA Lab-Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล และ บริษัท GIB-Green Innovative Biotechnology Co., Ltd
\✨🌎 ขอแสดงความยินดีกับน้องๆทุกๆคน 🌱🌿/
📸 🛰️📡🌎🌱 👩🔬🧑🔬👨🔬🌱🌿✍️👩💻🧑💻👨💻🌏
#โหระพา #โหระพาอวกาศ
We are pleased to announce our phase II partnership with AHiS program, NSTDA/JAXA. Thailand's space seed has returned to earth from ISS safe & sound by SpaceX CRS-22. PBA lab, School of Bioinnovation in partnership with Department of Plant Science, Mahidol U. will carry on seedling distribution and research activity. Special thansk to NASA for the space mission arrangement. Tentative plan is TBA.
https://humans-in-space.jaxa.jp/en/biz-lab/news/detail/001610.html
Space Architecture: Designing a Lunar Habitation System – Online Short Course (Started Oct 19, 2021) In this new online course you will learn about the development strategies and design challenges of locating and building lunar habitats.