PkwAstronomy

PkwAstronomy

Contact information, map and directions, contact form, opening hours, services, ratings, photos, videos and announcements from PkwAstronomy, Education, .

17/10/2023

ว้าว

Photos from มิตรเอิร์ธ - mitrearth's post 11/08/2023

มาอ่านต่อ

Photos from มิตรเอิร์ธ - mitrearth's post 08/08/2023

เถ้าภูเขาไฟ

23/07/2023

แปะ

22/07/2023

ไดโนเสาร์

ไดโนเสาร์ไทย 13 สายพันธุ์ 🦕🦖🇹🇭
(1) ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน (Phuwiangosaurus sirindhornae)
(2) สยามโมซอรัส สุธีธรนิ (Siamosaurus suteethorni)
(3) สยามโมไทรันนัส อีสานเอนซิส (Siamotyrannus isanensis)
(4) ซิตตะโกซอรัส สัตยารักษ์กิ (Psittacosaurus sattayaraki)
(5) อีสานโนซอรัส อรรถวิภัชน์ชิ (Isanosaurus attavipachi)
(6) กินรีมิมัส ขอนแก่นเอนซิส (Kinnareemimus khomkaenensis)
(7) สยามโมดอน นิ่มงามมิ (Siamodon nimngami)
(8) ราชสีมาซอรัส สุรนารีเอ (Ratchasimasaurus suranareae)
(9) สิรินธรนา โคราชเอนซิส (Sirindhorna khoratensis)
(10) ภูเวียงเวเนเตอร์ แย้มนิยมมิ (Phuwiangvenator yaemniyomi)
(11) วายุแรปเตอร์ หนองบัวลำภูเอนซิส (Vayuraptor nongbualamphuensis)
(12) สยามแรปเตอร์ สุวัจน์ติ (Siamraptor suwati)
(13) มินิโมเคอร์เซอร์ ภูน้อยเอนซิส (Minimocursor phunoiensis)

21/07/2023

สึนามิ

http://www.mitrearth.org/4-9-tsunami/

20/07/2023
01/07/2023

สาเหตุ

#เพราะอินเดียแผ่นเดียวแท้ๆ
ทุกวันนี้ #แผ่นเปลือกโลกอินเดีย กำลังวิ่งขึ้นเหนือเยื้องไปทางตะวันออกนิดๆ (NNE) และพุ่งชน #แผ่นเปลือกโลกยูเรเซีย เลยทำให้...
● #อ่าวไทย ถูกดึงยืดออกในแนวตะวันออก-ตะวันตก และเปิดอ่าวไทยกว้างขึ้นเรื่อยๆ
● #ปิโตรเลียมและถ่านหิน ส่วนใหญ่ของไทย ก็ค่อยๆ สะสมกันในช่วงนี้
● #ภูเขาไฟรุ่นใหม่ๆ เช่น เขาพนมรุ้ง เขากระโดง ภูพระอังคาร -บุรีรัมย์ ดอยผาคอกจำป่าแดด ดอยผาคอกหินฟู -ลำปาง เขาพลอยแหวน -จันทบุรี ก็ประทุเพราะเรื่องนี้
● #พลอยเมืองจันทร์ ก็ถูกอมขึ้นมากับพร้อมกับแมกมาบะซอลต์ล๊อตเดียวกับเขาพลอยแหวน เขาพนมรุ้ง
● #ภาคกลางของไทย กลายเป็นที่ราบลุ่มต่ำ
● #ภาคเหนือของไทย ทรุดเป็นแอ่งๆ กลายเป็นที่ราบสลับทิวเขา (ทิวเขาผีปันน้ำ)
● #จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นที่ลุ่ม มีทิวเขาขนาบซ้าย-ขวา
● #รอยเลื่อนทางภาคเหนือ เช่น รอยเลื่อนแม่ทา ลำปาง-เถิน ฯลฯ เลื่อนตัวแนวระนาบแบบซ้ายเข้า (จะซ้ายเข้าหรือ ขวาเข้า มีผลเรื่องกลไกแผ่นดินไหว และพิบัติภัยที่ต่างกัน แค่นี้ก่อนนะครับ เดี๋ยวยาว)
● #รอยเลื่อนทางภาคตะวันตก เช่น รอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี เลื่อนตัวแนวระนาบแบบขวาเข้า
● #รอยเลื่อนทางภาคใต้ เช่น รอยเลื่อนระนอง รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย เลื่อนตัวแนวระนาบแบบซ้ายเข้า
● #หิมาลัย สูงขึ้นทุกๆ ปี ปีละ 4-5 มิลลิเมตร
● เกิดแผ่นดินไหวแทบทุกวัน ตลอดแนว #เขตมุดตัวของเปลือกโลกสุมาตรา_อันดามัน (sumatra-Andaman Subduction Zone)
● เคยเกิดสึนามิในอดีต เกิดสึนามิ ปี พ.ศ. 2547 และมีโอกาสเกิดอีกในอนาคต ตามแนวเขตมุดตัวดังกล่าว
#ร้ายกาจนักน๊าาาาาา

01/07/2023

#เพราะอินเดียแผ่นเดียวแท้ๆ
ทุกวันนี้ #แผ่นเปลือกโลกอินเดีย กำลังวิ่งขึ้นเหนือเยื้องไปทางตะวันออกนิดๆ (NNE) และพุ่งชน #แผ่นเปลือกโลกยูเรเซีย เลยทำให้...
● #อ่าวไทย ถูกดึงยืดออกในแนวตะวันออก-ตะวันตก และเปิดอ่าวไทยกว้างขึ้นเรื่อยๆ
● #ปิโตรเลียมและถ่านหิน ส่วนใหญ่ของไทย ก็ค่อยๆ สะสมกันในช่วงนี้
● #ภูเขาไฟรุ่นใหม่ๆ เช่น เขาพนมรุ้ง เขากระโดง ภูพระอังคาร -บุรีรัมย์ ดอยผาคอกจำป่าแดด ดอยผาคอกหินฟู -ลำปาง เขาพลอยแหวน -จันทบุรี ก็ประทุเพราะเรื่องนี้
● #พลอยเมืองจันทร์ ก็ถูกอมขึ้นมากับพร้อมกับแมกมาบะซอลต์ล๊อตเดียวกับเขาพลอยแหวน เขาพนมรุ้ง
● #ภาคกลางของไทย กลายเป็นที่ราบลุ่มต่ำ
● #ภาคเหนือของไทย ทรุดเป็นแอ่งๆ กลายเป็นที่ราบสลับทิวเขา (ทิวเขาผีปันน้ำ)
● #จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นที่ลุ่ม มีทิวเขาขนาบซ้าย-ขวา
● #รอยเลื่อนทางภาคเหนือ เช่น รอยเลื่อนแม่ทา ลำปาง-เถิน ฯลฯ เลื่อนตัวแนวระนาบแบบซ้ายเข้า (จะซ้ายเข้าหรือ ขวาเข้า มีผลเรื่องกลไกแผ่นดินไหว และพิบัติภัยที่ต่างกัน แค่นี้ก่อนนะครับ เดี๋ยวยาว)
● #รอยเลื่อนทางภาคตะวันตก เช่น รอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี เลื่อนตัวแนวระนาบแบบขวาเข้า
● #รอยเลื่อนทางภาคใต้ เช่น รอยเลื่อนระนอง รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย เลื่อนตัวแนวระนาบแบบซ้ายเข้า
● #หิมาลัย สูงขึ้นทุกๆ ปี ปีละ 4-5 มิลลิเมตร
● เกิดแผ่นดินไหวแทบทุกวัน ตลอดแนว #เขตมุดตัวของเปลือกโลกสุมาตรา_อันดามัน (sumatra-Andaman Subduction Zone)
● เคยเกิดสึนามิในอดีต เกิดสึนามิ ปี พ.ศ. 2547 และมีโอกาสเกิดอีกในอนาคต ตามแนวเขตมุดตัวดังกล่าว
#ร้ายกาจนักน๊าาาาาา

30/06/2023

รอยเลื่อน

Photos from มิตรเอิร์ธ - mitrearth's post 25/06/2023

จัด

15/04/2023

#โลกเราถูกพุ่งชนด้วยอุกกาบาตตลอดเวลาและนี่คือหลักฐานสำคัญ หลุมอุกกาบาตที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้อย่างดีที่สุด บนโลกตั้งอยู่ทางตะวันออกของ Flagstaff รัฐแอริโซนา หลุมขนาดใหญ่บนพื้นดินนี้กว้าง 1.2 กิโลเมตร ลึก 170 เมตร โดยมีขอบสูงจากที่ราบทะเลทรายโดยรอบ 45 เมตร

ไดโนเสาร์ มีกำเนิด ที่มาที่ไปอย่างไร ดูสารคดีได้ที่ doxzilla.com

ในตอนแรกคิดว่าหลุมนี้เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ จนกระทั่งปี 1960 Eugene Shoemaker การวิจัยเปรียบเทียบลักษณะหลุมที่เกิดจากการระเบิดของนิวเคลียร์ กับหลุมที่เกิดจากอุกกาบาตพุ่งชน ยืนยันว่าหลุมนี้มาจากการพุ่งชนของอุกกาบาต

อุกกาบาตทำให้ไดโนเสาร์ตายได้อย่างไร ดูสารคดีได้ที่ doxzilla.com

การค้นพบที่สําคัญของเขาก็คือการที่รอบบริเวณหลุุม มีแร่ธาตุหายากพร้อมกับโครงสร้างของแร่ธาตุและหินที่พบในการระเบิดที่แตกต่างออกไปจากการระเบิดของภูเขาไฟทั่วไป ส่วนรูปร่างและคุณสมบัติของหลุมก็ตรงกับหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ด้วย

ตอนนี้เรารู้แล้วว่าอุกกาบาตเหล็กขนาดประมาณ 50 เมตร และมีน้ําหนัก 300,000 ตัน เป็นตัวพุ่งชนพื้นโลก ทําให้เกิดลักษณะคล้ายปล่องภูเขาไฟนี้

ไดโนเสาร์ มีกำเนิด ที่มาที่ไปอย่างไร ดูสารคดีได้ที่ doxzilla.com

มันเป็นเพียงก้อนกรวดเมื่อเปรียบเทียบกับอุกกาบาตที่ทําให้เกิดหลุมอุกกาบาต Chicxulub ที่คาบสมุทรยูทาคาน เม็กซิโก แต่มันยังคงสร้างผลกระทบบนชั้นบรรยากาศของโลกอยู่ดี ด้วยแรงซึ่งเทียบเท่ากับระเบิดทีเอ็นทีอย่างน้อย 2.5 เมกะตัน หรือ 150 เท่าของแรงของระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิม่า ซึ่งอุกกาบาตส่วนใหญ่ระเหยทันที มีเพียงไม่กี่ชิ้นเท่านั้นที่รอดมาให้เราได้เห็น

ไดโนเสาร์ มีกำเนิด ที่มาที่ไปอย่างไร ดูสารคดีได้ที่ doxzilla.com

Photos from Spaceth.co's post 15/04/2023
09/04/2023

#ภูมิศาสตร์บรรพกาล (paleogeography) ในแต่ละช่วงเวลาของโลก ซึ่งศึกษาและแปลความโดยใช้ #ปรากฏการณ์ขั้วโลกหลงทาง (polar wandering) เป็นแนวทางหลักในการศึกษา
#หมายเหตุ : หลักฐานการศึกษา 1) #มุมเอียง (inclination) และ 2) #มุมเบี่ยง (declination) บ่งชี้ว่า ประเทศไทยเคยอยู่ติดกับทวีปออสเตรเลียทางซีกโลกใต้ โดยด้ามขวานเคยอยู่ติดฝั่งตะวันตก ในขณะที่ใบขวานติดฝั่งตะวันออกของออสเตรเลีย และตลอดทางที่ทั้งด้ามขวานและใบขวานเดินทางมาพบกันที่เส้นศูนย์สูตรในปัจจุบัน ทั้งใบและด้ามขวานมีการหมุนวนทั้งแบบทวนเข็มและตามเข็มนาฬิกามาแล้วหลายครั้ง จนสุดท้ายมาเชื่อมติดกันในปัจจุบัน (ปัญญา จารุศิริ และคณะ, 2545)

09/04/2023

รุ้งตะแคง - แวงตั้ง 🙂
1) #ละติจูด (latitude) หรือ เส้นรุ้ง คือ การกำหนดตำแหน่งในแนวระนาบขนานกับ #เส้นศูนย์สูตร (Equator) ด้วยระยะทางเชิงมุมในแนวตั้งบนพื้นโลกจากจุดศูนย์กลางโลก ละติจูดแต่ละเส้นจะห่างกัน 1 องศา ประกอบด้วยเส้นที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 90 เส้น และใต้เส้นศูนย์สูตรอีก 90 เส้น
2) #ลองจิจูด (longitude) หรือ เส้นแวง คือ ตำแหน่งแนวตั้ง ด้วยระยะทางเชิงมุมในแนวนอนบนเส้นศูนย์สูตรจากจุดศูนย์เริ่มต้นที่ #เมริเดียนย่านกลาง (Prime Meridian) หอดูดาวเมืองกรีนิช อังกฤษ และแบ่งเส้นย่อยไปทางทิศตะวันออกและตกด้านละ 180 เส้น

24/01/2023
24/01/2023
09/12/2022
12/09/2022

5555

Photos from Antares StarExplorer's post 12/07/2022
12/07/2022

เซิร์นประกาศการค้นพบอนุภาคใหม่
รวดเดียว 3 อนุภาค

เมื่อต้นเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2022 ที่เพิ่งผ่านมานี้ ทีมงาน LHCb แห่งเซิร์น (CERN) ได้ประกาศการค้นพบอนุภาคใหม่ 3 อนุภาคได้แก่
1. เพนตะควาร์ก (pentaquark) ซึ่งประกอบไปด้วยควาร์ก 5 ชนิด
คือ up charm strange และ down กับ anti charm
ซึ่งนี่เป็นครั้งแรกที่มีการค้นพบเพนตะควาร์กที่มี strange quark อยู่ด้วย
2.+3. เตตระควาร์ก (tetraquarks) ซึ่งประกอบไปด้วยควาร์ก 4 ชนิด โดยนี่เป็นครั้งแรกที่มีการค้นพบเตตระควาร์กสองอนุภาคพร้อมๆกัน
- เตตระควาร์กแรกประกอบขึ้นจาก charm up anti-down และ anti-strange
- เตตระควาร์กที่สองประกอบขึ้นจาก charm anti-up anti-down และ anti-strange
การค้นพบอนุภาคใหม่นี้ แม้จะไม่ใช่อนุภาคมูลฐาน
แต่มันมีส่วนสำคัญในการพัฒนาแบบจำลองของอนุภาคเหล่านี้ให้ดีขึ้น
ซึ่งในปัจจุบันยังมีแง่มุมหลายอย่างที่นักฟิสิกส์ยังคงถกเถียงกันอยู่

อ้างอิง
https://home.cern/news/news/physics/lhcb-discovers-three-new-exotic-particles

Photos from มิตรเอิร์ธ - mitrearth's post 01/07/2022
Photos from Arkansas Weather-Paul the Wxguru's post 16/01/2022
15/01/2022
แฟนพันธุ์แท้ดวงดาว (12 มี.ค. 2547) - 1/2 12/01/2022

แฟนพันธุ์แท้ดวงดาว (12 มี.ค. 2547) - 1/2 รายการแฟนพันธ์ุแท้ ตอน"ดวงดาว" ออกอากาศเมื่อวันศุกร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2547 เวลา 22.20-23.30

05/06/2021
Photos from ED-TECH TRENDY's post 29/04/2021
Photos from อาจวรงค์ ป๋องแป๋ง จันทมาศ's post 21/04/2021
15/04/2021
ตัวอย่างแบบรายงาน OBEC Awards รางวัลเหรียญทอง ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับชาติ ด้านนวัตกรรมฯ ไฟล์ word 14/03/2021

ตัวอย่างแบบรายงาน OBEC Awards รางวัลเหรียญทอง ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับชาติ ด้านนวัตกรรมฯ ไฟล์ word อีกรางวัลหนึ่งที่ทรงคุณค่าสำหรับครู ที่จะไม่พูดถึงไม่ได้เลยก็ คือ OBEC Awards และวันนี้เรามีตัวอย่างแบบรายงาน OB...

ตัวอย่างแบบรายงานรางวัลครูดีในดวงใจ ไฟล์ word เนื้อหาครบถ้วน - สถานีครูดอทคอม 12/03/2021

ตัวอย่างแบบรายงานรางวัลครูดีในดวงใจ ไฟล์ word เนื้อหาครบถ้วน - สถานีครูดอทคอม แบบรายงานรางวัลครูดีในดวงใจ ให้เพื่อนครูได้ดูเป็นตัวอย่าง ในตัวอย่างเป็นไฟล์ word และมีเนื้อหาที่สมบรูณ์ ค...

17/02/2021
13/02/2021

#ภูมิศาสตร์บรรพกาล (paleogeography) I วิวัฒนาการการย้ายตำแหน่งของทวีปต่างๆ นับตั้งแต่ 200 ล้านปีก่อน จนถึงปัจจุบันเป็นแบบที่เห็นในภาพ ถามว่า นักธรณีวิทยารู้ได้ยังไง ?
จากสนามแม่เหล็กโลก นักธรณีวิทยาพบว่าสัญญาณ #แนวเส้นแรงแม่เหล็กโลก จะถูกเก็บรักษาไว้ในหินในช่วงที่หินเกิด (แมกมาเย็นเป็นหิน) โดยเส้นแรงแม่เหล็กที่เก็บไว้ในหิน จะมี #มุมเอียง (inclination) แตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นผิวโลก เช่น หินที่อยู่ในบริเวณ 1) #ขั้วโลกใต้ เส้นแรงแม่เหล็กจะชี้ขึ้นฟ้าตั้งฉาก 90 องศา กับพื้นผิวโลก 2) #ซีกโลกใต้ เส้นแรงแม่เหล็กเฉียงขึ้นฟ้า 3) #เส้นศูนย์สูตร เส้นแรงแม่เหล็กขนานกับพื้นผิวโลก 4) #ซีกโลกเหนือ เส้นแรงแม่เหล็กกดหัวลงไปในพื้นผิวโลก 5) #ขั้วโลกเหนือ เส้นแรงแม่เหล็กพุ่งปักลงพื้นผิวโลกตั้งฉาก 90 องศา
จากการหาอายุของหิน + หามุมเอียงเอในตอนหินเกิด นักธรณีวิทยาก็จะบอกได้ว่า ตอนนั้นหินอยู่ที่ละติจูดไหน เช่น สมมุติเฉยๆ นะครับว่า หินที่ไทยบ้านเรามีเส้นแรงแม่เหล็กชี้ขึ้น อาจเป็นไปได้ว่าเมื่อก่อนหินหรือพื้นที่บ้านเราเคยอยู่ที่ขั้วโลกใต้ หรือ หินที่ออสเตรเลียพบเส้นแรงแม่เหล็กทิ่มหัวลง แปลได้ว่า เมื่อก่อนทวีปออสฯ เคยอยู่ที่ขั้วโลกเหนือ เป็นต้น ตามสมมุติ
แถมถ้าศึกษาในรายละเอียด ก็จะบอกได้ว่า #หินนั้นอยู่ที่ลองจิจูดใด และ #เบี่ยงไปเท่าไหร่จากทิศเหนือ เช่น เมื่อก่อนด้ามขวานของไทยอาจจะกลับหัว
ดังนั้น ด้วยศาสตร์ที่เรียกว่า #สนามแม่เหล็กโลกบรรพกาล (paleomagnetism) เมื่อนำมาเล่นกับ #หิน ตามที่ต่างๆ บนโลก เราจะสามารถบอก ภูมิศาสตร์บรรพกาล (paleogeography) ได้

Website