Chaophraya Delta 2040

Chaophraya Delta 2040

Contact information, map and directions, contact form, opening hours, services, ratings, photos, videos and announcements from Chaophraya Delta 2040, Scientist, .

22/07/2022

Continuing a 22-year downward trend, water levels in Lake Mead stand at their lowest since April 1937, when the reservoir was still being filled for the first time. As of July 18, 2022, Lake Mead was filled to just 27 percent of capacity.

https://go.nasa.gov/3BdEsJH

เกษตรศาสตร์ 3 มันสำปะหลังสายพันธุ์ใหม่ 10/06/2022

เกษตรศาสตร์ 3 มันสำปะหลังสายพันธุ์ใหม่ การผลิตแป้งฟลาวจากมันสำปะหลังของประเทศไทย ใช้มันสำปะหลังที่มีปริมาณไซยาไนด์ในหัวสดสูง รสชาติและเนื้อส....

ลมหายใจเเห่งเมือง เมื่อศิลปะกับน้ำท่วมมาเจอกัน 05/06/2022

ลมหายใจแห่งเมือง ผ่านมุมมองทางศิลปะ โดย รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์

ลมหายใจเเห่งเมือง เมื่อศิลปะกับน้ำท่วมมาเจอกัน รศ.ดร. สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์: วิศวกรปฐพี นักธรณีวิทยา เเละศิลปิน ผู้นำเสนองานศึกษาเกี่ยวกับการจัดการน้ำท่วมใ...

02/03/2022
25/12/2021

📣📣สทนช. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการลุ่มน้ำ
ผู้ทรงคุณวุฒิ 22 ลุ่มน้ำ ภายในวันที่ 31 ม.ค.65 รายละเอียดการรับสมัครสามารถดูได้จากประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อการเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการลุ่มน้ำผู้ทรงคุณวุฒิของแต่ละลุ่มน้ำ
สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มการสมัครได้ที่นี่👇

03/11/2021
Photos from กรมอุตุนิยมวิทยา's post 26/10/2021
01/09/2021
แบบสอบถามความคิดเห็นและการรับรู้ของสาธารณชนต่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20/08/2021

เราอยากได้ความคิดเห็นจากทุกท่านเพื่อการบริหารจัดการน้ำที่ดีกว่า

แบบสอบถามความคิดเห็นและการรับรู้ของสาธารณชนต่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แบบสอบถามนี้จะเป็นข้อคิดเห็นและการรับรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศไทยเพื่อนำมาประก...

17/08/2021
Photos from สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ - องค์การมหาชน's post 31/07/2021
Timeline photos 30/07/2021

Extreme heat is hitting the Mediterranean area.
Temperatures are forecast to be well above 40°C in inland areas ranging from , southern , and , according to the German Weather Service, DWD, which
acts as one of WMO's regional climate monitoring centres.

The is fuelling in Southern Turkey, which have already claimed a number of lives.

The above-normal temperatures in the central and eastern Mediterranean region (including central and southern Balkans, southern European Russia and west Kazakhstan) are expected to continue for the next two weeks.

In some places this is also accompanied by rainfall deficits and water supply problems.

Heatwaves are deadly. Please follow advice from your National Meteorological and Hydrological Service and stay cool and safe

Photos from กองอำนวยการน้ำแห่งชาติ's post 28/07/2021
23/07/2021

Torrential rain has affected about 5.5 million people in central China's Henan Province, with 33 reported dead and eight still missing, local authorities said on Friday.

About 529,000 residents have been relocated to safe places. Rainwater has damaged more than 458,900 hectares of crops, causing direct economic loss of about 5.4 billion yuan (about $830 million).

Photos from สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ's post 29/05/2021

เพื่อการเฝ้าระวัง

22/05/2021
เปิดเวทีล้อมวงวิจัยส่องทางออกแก้น้ำแล้ง ลดเหลื่อมล้ำ 31/03/2021

เปิดเวทีล้อมวงวิจัยส่องทางออกแก้น้ำแล้ง ลดเหลื่อมล้ำ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) จัดเวทีเสวนาออนไลน์ TSRI Talk “การบริหารจัดการน้....

30/03/2021
25/03/2021

[ FB Live ] TSRI Talk : “การบริหารจัดการน้ำเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ”

เวทีเสวนา

➡️1.“แนวคิดและกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาการบริหารจัดการน้ำเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ”
📍•แนวคิดและแผนงานของการแก้จนและลดความเหลื่อมล้ำ: บทบาทของการบริหารน้ำกับการลดความเหลื่อมล้ำ
โดย คุณปานเทพ กล้าณรงค์ราญ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่ และประธานคณะอนุกรรมาธิการศึกษา เสนอแนะ การแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำเชิงโครงสร้างด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและที่ดิน
📍•สถานะของความเหลื่อมล้ำและแนวทางแก้ปัญหาด้วยงานวิจัย
โดย รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ประธานแผนงานเข็มมุ่งการบริหารจัดการน้ำ วช.
📍•การพัฒนากลุ่มผู้ใช้น้ำเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
โดย คุณชิษนุวัฒน์ มณีศรีขำ ผู้ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสงคราม
📍•การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์ของการบริหารจัดการน้ำกับการลดความเหลื่อมล้ำ
โดย รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
📍•ประเด็นสำคัญของงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการบริหารจัดการน้ำเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
โดย รศ.ดร.ชนาธิป ผาริโน รองผู้อำนวยการ สกสว.

➡️2. “ทางออกของภาวะแล้งในปีนี้”
📍•ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
โดย นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่ และประธานคณะอนุกรรมาธิการศึกษา เสนอแนะ การแก้ปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำเชิงโครงสร้างด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและที่ดิน
📍•สถานภาพภาวะแล้งในปัจจุบัน
โดย รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ ประธานแผนงานเข็มมุ่งการบริหารจัดการน้ำ วช.
📍•การปรับตัวและกิจกรรมของกลุ่มผู้ใช้น้ำในพื้นที่
โดย คุณชิษนุวัฒน์ มณีศรีขำ ผู้ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสงคราม
📍•ผลกระทบของภาวะแล้งปี 2564
โดย รศ.ดร.นิรมล สุธรรมกิจ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
📍•การสนับสนุนทางออกด้วยงานวิจัย
โดย รศ.ดร.ชนาธิป ผาริโน รองผู้อำนวยการ สกสว.
➡️3. การแลกเปลี่ยนความเห็น “งานวิจัยช่วยทางออกภาวะแล้งในอนาคตได้อย่างไร”

ดำเนินรายการโดย รศ.ดร.โสภารัตน์ จารุสมบัติ SAT Director สกสว.

🌏ติดตามได้วันวันอังคารที่ 30 มีนาคม 2564
⏳เวลา 13.30 – 16.30 น.
🌐ทาง Facebook : สกสว.

Carbon Dioxide Concentration | NASA Global Climate Change 24/03/2021

Carbon Dioxide Concentration | NASA Global Climate Change Vital Signs of the Planet: Global Climate Change and Global Warming. Current news and data streams about global warming and climate change from NASA.

08/03/2021

สทนช. ขอเชิญชวนผู้สนใจ ลงทะเบียนเข้าร่วมเวทีการประชุมรับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 2 โครงการจัดทำผังน้ำ ลุ่มน้ำสะแกกรัง ป่าสัก เจ้าพระยา ท่าจีน เพื่อเสนอความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะต่อร่างผังน้ำ ทั้งประเด็นข้อห่วงกังวล ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ โดยการประชุมจัดเป็น 8 เวที ดังนี้

• เวทีที่ 1 กลุ่มจังหวัดชัยนาท พระนครศรีอยุธยา สิงห์บุรี อ่างทอง กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี และอุทัยธานี
วันจันทร์ที่ 29 มีนาคม 2564 เวลา 08.30 - 12.00 น. ณ หอประชุมชั้น 2 อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จ.สุพรรณบุรี
• เวทีที่ 2 กลุ่มจังหวัดชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี สระบุรี เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร และอุทัยธานี
วันอังคารที่ 30 มีนาคม 2564 เวลา 08.30 - 12.00 น. ณ หอประชุมอำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท
• เวทีที่ 3 กลุ่มจังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ และอุทัยธานี
วันพุธที่ 31 มีนาคม 2564 เวลา 08.30 - 12.00 น. ณ หอประชุมอำเภอเมืองอุทัยธานี จ.อุทัยธานี
• เวทีที่ 4 กลุ่มจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลพบุรี และสระบุรี
วันพฤหัสบดีที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 13.00 - 16.30 น. ณ หอประชุมอำเภอเมืองสระบุรี จ.สระบุรี
• เวทีที่ 5 กลุ่มจังหวัดเลย นครราชสีมา ชัยภูมิ และเพชรบูรณ์
วันศุกร์ที่ 2 เมษายน 2564 เวลา 13.00 - 16.30 น. ณ หอประชุมอำเภอหนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
• เวทีที่ 6 กลุ่มจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อ่างทอง นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรปราการ สุพรรณบุรี นครนายก และกรุงเทพมหานคร
วันพุธที่ 7 เมษายน 2564 เวลา 08.30 - 12.00 น. ณ หอประชุมอำเภอมหาราช จ.พระนครศรีอยุธยา
• เวทีที่ 7 กลุ่มจังหวัดนนทบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม และกรุงเทพมหานคร
วันพฤหัสบดีที่ 8 เมษายน 2564 เวลา 08.30 - 12.00 น. ณ หอประชุมอำเภอบางเลน จ.นครปฐม
• เวทีที่ 8 จังหวัดสมุทรสาคร
วันศุกร์ที่ 9 เมษายน 2564 เวลา 08.30 - 12.00 น. ณ หอประชุมอำเภอเมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร

โดยท่านสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมการประชุมล่วงหน้าได้แล้วตั้งแต่วันนี้ – 22 มี.ค. 64 ผ่านการแสกน QR CODE ในรูปภาพด้านล่าง หรือติดต่อสอบถามเพิ่มเติม โทร 08-1685-2677 และ 08-1683-9979

13/02/2021

พระราชกฤษฎีกากำหนดลุ่มน้ำ พ.ศ. 2564 กำหนดให้ลุ่มน้ำของประเทศไทยมี 22 ลุ่มน้ำ ดังนี้
1.ลุ่มน้ำสาละวิน
2.ลุ่มน้ำโขงเหนือ
3.ลุ่มน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ
4.ลุ่มน้ำชี
5.ลุ่มน้ำมูล
6.ลุ่มน้ำปิง
7.ลุ่มน้ำวัง
8.ลุ่มน้ำยม
9.ลุ่มน้ำน่าน
10.ลุ่มน้ำเจ้าพระยา
11.ลุ่มน้ำสะแกกรัง
12.ลุ่มน้ำป่าสัก
13.ลุ่มน้ำท่าจีน
14.ลุ่มน้ำแม่กลอง
15.ลุ่มน้ำบางปะกง
16.ลุ่มน้ำโตนเลสาบ
17.ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
18.ลุ่มน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์
19.ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนบน
20.ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
21.ลุ่มน้ำภาคใต้ตะวันออกตอนล่าง
22.ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/A/012/T_0001.PDF

จัดลุ่มน้ำใหม่ ตัดสินใจทันสถานการณ์ 12/02/2021

เรื่องราวดีๆๆ สำหรับการบริหารจัดการน้ำ

จัดลุ่มน้ำใหม่ ตัดสินใจทันสถานการณ์

12/02/2021

ลุ่มน้ำ 2564

www.ratchakitcha.soc.go.th

03/02/2021

วัสดุหรือเส้นใยสังเคราะห์ เช่น โพลีเอสเตอร์ อะคริลิคและไนลอน คิดเป็นประมาณ 60% ของวัสดุเสื้อผ้าทั่วโลก ซึ่งเสื้อผ้าที่ผลิตจากโพลีเอสเตอร์ที่เป็นที่นิยมและใช้มากที่สุด เนื่องจากมีความทนทานและมีราคาไม่แพง เมื่อเทียบกับเสื้อผ้าที่ผลิตจากเส้นใยธรรมชาติ เช่น ฝ้าย
จากงานวิจัยพบว่าตั้งแต่กระบวนการผลิต การสวมใส่ และการซักเสื้อผ้า ล้วนทำให้มีเส้นใยสังเคราะห์เล็ดลอดสู่ธรรมชาติ ซึ่งเส้นใยเหล่านั้นจะเรียกว่า ‘ไมโครไฟเบอร์’ (Microfiber) ซึ่งเป็นไมโครพลาสติกชนิดหนึ่ง
องค์กรระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) ระบุว่า ไมโครไฟเบอร์ที่ถูกชะล้างออกจากเสื้อผ้าในขณะซักนั้นมีอัตราส่วน 35% ของไมโครพลาสติกชั้นปฐมภูมิที่ตกค้างในทะเล
ไมโครพลาสติกชั้นปฐมภูมิ (Primary Microplastic) คือไมโครพลาสติกที่ถูกปล่อยออกสู่ธรรมชาติโดยตรง ตรงกันข้ามกับไมโครพลาสติกชั้นทุติยภูมิ (Secondary Microplastic) ที่เป็นไมโครพลาสติกที่เกิดจากการย่อยสลายของพลาสติกขนาดใหญ่ในสิ่งแวดล้อม
สืบเนื่องจากปัจจุบันยังไม่มีเครื่องซักผ้าและโรงบำบัดน้ำเสียที่ดักจับเส้นใยเหล่านี้ได้ ด้วยเหตุนี้ไมโครไฟเบอร์จึงไหลลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติและทะเล
เมื่อประชากรโลกเพิ่มมากขึ้น รวมไปถึงเทรนด์เสื้อผ้าที่มีมากกว่าแค่ฤดูกาล ส่งผลให้การบริโภคเสื้อผ้าเพิ่มสูงขึ้นตาม และนี่อาจทำให้แนวโน้มมลพิษทางทะเลเพิ่มสูงขึ้นเป็นเงาตามตัว
แม้เสื้อผ้าจะเป็นปัจจัยสี่ของมนุษย์ แต่การใช้ชีวิตที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อมควรต้องเลือกและใช้เสื้อผ้าอย่างคุ้มค่าโดยคำนึงถึงทรัพยากรที่สูญเสียไป รวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมด้วย
#ชีวิตวิถีใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม

04/12/2020

บรรยายส่งท้าย 2020 ของเจ้าพระยาเดลต้า 2040
***ลงทะเบียนได้ทาง qr code***

Videos (show all)

ประเทศไทย "จำเป็นต้องย้ายเมืองหลวง?"

Website