Arts and Cultural Management Innovation SWU
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ขอเรียนเชิญนักวิจัยและผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมจัดการอบรมโครงการ “การพัฒนาศักยภาพนักวิจัยรุ่นใหม่ผ่าน Multi Mentoring System”กลุ่ม MMS 8 - สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ครั้งที่ 2 "ถ่ายทอดประสบการณ์จากรุ่นสู่รุ่น"
ในวันจันทร์ที่ 9 กันยายน 2567 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ตั้งแต่เวลา 08.30 – 16.30 น.
📌 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตและผลักดันให้เกิดศักยภาพด้านการวิจัย ให้มีโอกาสได้ทำงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อเข้าสู่เส้นทางการเป็นนักวิจัยอาชีพ และเพิ่มผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ อันจะนำไปสู่การยกระดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยให้มีศักยภาพในการวิจัยสูงขึ้น ผ่านหัวข้อที่น่าสนใจ
📌 เรียนการจัดการศิลปวัฒนธรรม ต้องเรียนที่ศิลปกรรมศาสตร์ มศว เพราะ “ACMI เราคือตัวแม่เรื่องนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม” 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
วันที่ 30 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ ย่านช้างม่อย จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการย่านสร้างสรรค์ กรณีศึกษา ย่านช้างม่อย ซึ่งย่านช้างม่อยเป็นย่านเศรษฐกิจดั้งเดิมที่มีเสน่ห์จากการผสมผสานความหลากหลายของผู้คน วัฒนธรรม วิถีชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และอาคารร้านค้าเก่าแก่ ที่มีความเปลี่ยนแปลงและสะท้อนเรื่องราวอันเป็นเอกลักษณ์และความสัมพันธ์ของผู้คนจากรุ่นสู่รุ่น ทำให้เกิดกิจการรุ่นใหม่ที่ผสมผสานคุณค่าดั้งเดิมของย่าน รวมไปถึงกลุ่มคนที่เล็งเห็นศักยภาพของพื้นที่เข้ามาลงทุนทำธุรกิจและค้าขายในย่านช้างม่อย จนทำให้ย่านนี้เป็นแหล่งรวมของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและหมุดหมายการท่องเที่ยวของนักเดินทาง ย่านนี้จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนา ซึ่งเป็นย่านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ต้นแบบ ของจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
วันที่ 30 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ ประตูช้างเผือก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับประตูช้างเผือก คุณค่าและความสำคัญ ตลอดจนแนวทางในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางโบราณคดีเมืองเชียงใหม่ ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
วันที่ 29 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ พิพิธภัณฑ์บ้านดำ จังหวัดเชียงราย เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้ศิลปกรรม สถาปัตยกรรมที่สะท้อนให้เห็นอัตลักษณ์ความเป็นล้านาซึ่งเป็นอาคารทั้งหมด 36 หลัง โดยแต่ละหลังมีจัดแสดงผลงานศิลปะและของสะสมของอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ ปี พ.ศ. 2544 ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
วันที่ 28 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ ย่านเมืองเก่าเชียงราย จังหวัดเชียงราย เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมย่านเมืองเก่าเชียงรายอย่างยั่งยืนทั้งในมิติของการอนุรักษ์และพัฒนา ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
วันที่ 28 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ โกดังห้วยเกี๋ยง จังหวัดเชียงราย เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้การจัดการพื้นที่ทางศิลปะและเยี่ยมชมนิทรรศการผลงานของศิลปินทั้ง 7 ได้แก่ เฉิง ซิน ห้าว (Cheng Xinhao) โฮ ซู เงียน (Ho Tzu Nyen) นิพันธ์ โอฬารนิเวศน์ (Nipan Oranniweana) พาโบล บาร์โธ่โลมิว (Pablo Bartholomew) สว่างวงศ์ ยองห้วย (Sawangwongse Yawnghwe) เซียว ซ่ง (Tcheu Siong) วันทนีย์ ศิริพัฒนานันทกูร (Wantanee Siripattananuntakul) ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
วันที่ 28 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ พิพิธภัณฑ์บ้านฝิ่น จังหวัดเชียงราย เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมเกี่ยวกับฝิ่นในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำผ่านโบราณวัตถุและศิลปวัตถุ อาทิ มีดกรีดฝิ่น ตาชั่ง เป้ง กล้องสูบฝิ่น เสื่อ และหมอนนอนสูบฝิ่น ซึ่งเครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับฝิ่นเหล่านี้แสดงออกถึงความเชื่อความศรัทธา วัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดกันมา และแสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาอันชาญฉลาดของผู้ประดิษฐ์ของผู้คนชาวพม่า ชาวไทยใหญ่ ชาวจีน และชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ในประเทศไทย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
วันที่ 28 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ วัดป่าสัก จังหวัดเชียงราย เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ มรดกทางวัฒนธรรม ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรมที่แสดงให้เห็นถึงความผสมผสานวัฒนธรรมหลากหลายในล้านนา เช่น ศรีวิชัย สุโขทัย หริภุญชัย พุกาม และ จีน จึงกลายเป็นโบราณสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งในล้านนา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระพุทธรุปปางเปิดโลกที่ประดิษฐานในซุ้มจระนำ อีกทั้งยังเป็นที่มาของนิทรรศการหลักของงานมหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ ไทยแลนด์เบียนนาเล่ เชียงราย 2023 ภายใต้แนวคิด “เปิดโลก” (The Open World) ซึ่งใช้เชียงรายเป็นแหล่งสำรวจทางด้านศิลปะ ที่เผยให้เห็นการคลี่คลายประวัติศาสตร์ทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมอันซับซ้อนของพื้นที่ นอกจากนี้ยังได้มีโอกาสเข้าร่วมงานมหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ ไทยแลนด์ เบียนนาเล่ เชียงราย 2023 ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
วันที่ 27 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ หอศิลป์ร่วมสมัยเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้การจัดการพื้นที่ศิลปะแห่งใหม่ของจังหวัดเชียงราย ซึ่งก่อตั้งโดยศิลปินแห่งชาติชาวเชียงราย อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม)) เพื่อเป็นหมุดหมายให้เชียงรายเป็นเมืองศิลปะ เชื่อมผู้คน ศิลปิน และศิลปะเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังได้มีโอกาสเข้าร่วมงานมหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ ไทยแลนด์ เบียนนาเล่ เชียงราย 2023 ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
วันที่ 27 เมษายน 2567 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้นำนิสิตชั้นปีที่ 2 ออกภาคสนาม ณ ขัวศิลปะ จังหวัดเชียงราย เพื่อเข้าศึกษาเรียนรู้การส่งเสริม การสนับสนุนการทำงานของศิลปิน นิสิต นักศึกษาที่มีความสนใจทางด้านศิลปะในจังหวัดเชียงราย ซึ่งได้รับการสนับสนุนและขับเคลื่อนโดยกลุ่มศิลปินชาวเชียงราย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตทางด้านนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม: การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ระหว่างวันที่ 27 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2567 💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม #ทีมมศว
การเสวนาทางวิชาการหัวข้อ “สงกรานต์พระประแดง: จากมรดกวัฒนธรรมสู่วัฒนธรรมสร้างสรรค์”
🗓️ วันศุกร์ที่ 19 เมษายน 2567
⏰ เวลา 19.00- 20.00 น.
🖥️ ถ่ายทอดสดผ่านเพจ Arts and Cultural Management Innovation SWU
วิทยากรโดย
👩🏻💼 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง
สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
🧑🏻💼 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายชล ปัญญชิต
ภาควิชาสังคมวิทยา
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
👩🏻💼 อาจารย์ ดร.พิชชากานต์ ช่วงชัย
สาขาวิชาการจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
🧑🏻💼 อาจารย์ ดร.กษิด์เดช เนื่องจำนงค์
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
🎙️ ดำเนินรายการโดย
อาจารย์ ดร.นันทมนต์ กู้ตลาด
สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
📝 จัดโดย สาขานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ร่วมกับ สภาวัฒนธรรมอำเภอพระประแดง ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมเฉลิมฉลองในโอกาสที่ “สงกรานต์ในประเทศไทย” ได้รับการขึ้นทะเบียนรายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ โดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO)
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
📍ขอเชิญรับชมการถ่ายทอดสดการเสวนาทางวิชาการหัวข้อ “สงกรานต์พระประแดง: จากมรดกวัฒนธรรมสู่วัฒนธรรมสร้างสรรค์”
🗓️ วันศุกร์ที่ 19 เมษายน 2567
⏰ เวลา 19.00- 20.00 น.
🖥️ ถ่ายทอดสดผ่านเพจ Arts and Cultural Management Innovation SWU
วิทยากรโดย
👩🏻💼 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง
สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
🧑🏻💼 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายชล ปัญญชิต
ภาควิชาสังคมวิทยา
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
👩🏻💼 อาจารย์ ดร.พิชชากานต์ ช่วงชัย
สาขาวิชาการจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
🧑🏻💼 อาจารย์ ดร.กษิด์เดช เนื่องจำนงค์
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
🎙️ ดำเนินรายการโดย
อาจารย์ ดร.นันทมนต์ กู้ตลาด
สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
📝 จัดโดย สาขานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ร่วมกับ สภาวัฒนธรรมอำเภอพระประแดง ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมเฉลิมฉลองในโอกาสที่ “สงกรานต์ในประเทศไทย” ได้รับการขึ้นทะเบียนรายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ โดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO)
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
✨ สวัสดีปีใหม่ไทย 2567 ✨
สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ขอร่วมเฉลิมฉลองในโอกาสที่ “สงกรานต์ในประเทศไทย” ได้รับการขึ้นทะเบียนรายการมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ ขององค์การยูเนสโก💦🎉🎊
📢 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ร่วมกับ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร จัดประชุมเวทีนโยบายสาธารณะ (Public Policy Forum)
“การยกระดับมูลค่าอุตสาหกรรมวัฒนธรรม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยสู่การเป็น Soft Power”
📅 ในวันที่ 28 มีนาคม 2567 เวลา 13.00 – 15.30 น. ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting
📌ท่านใดสนใจสามารถลงทะเบียนได้ที่
https://forms.gle/tREWkaq3sFu7ueEb7
#สกสว #กองทุนววน
#กองทุนววน
#การยกระดับมูลค่าอุตสาหกรรมวัฒนธรรม #อุตสาหกรรมสร้างสรรค์
#ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย
”
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ขอขอบพระคุณหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ที่ให้ความอนุเคราะห์รับนิสิตเข้าฝึกงานทางด้านการจัดการศิลปวัฒนธรรม ประจำปีการศึกษา 2566
📖 ชวนอ่านบทความ "Urban Regeneration of Hat Yai Inner City ธีสิสฟื้นฟูเมืองหาดใหญ่ สร้างย่านเศรษฐกิจใหม่จากพื้นที่"
✏️โดย นายอานันทสิทธิ์ ถือมาลา นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
👉อ่านบทความได้ที่ https://urbancreature.co/urban-regeneration-hatyai/?
Urban Regeneration of Hat Yai Inner City ธีสิสฟื้นฟูเมืองหาดใหญ่ สร้างย่านเศรษฐกิจใหม่จากพื้นที่เดิม ‘เกรท-กมลฉัตร ชื่นจิตต์ศิริ’ ผู้เกิดและเติบโตในพื้นที่หาดใหญ่ ตัดสินใจทำธีสิสออกแบบพื้นที่ในตัวเมืองหา.....
มาทำความรู้จักกับ Soft Power Ambassador 26 “ปรเมศวร์ นวลขาว (เมศ)” จากเด็กชาวสุราษฎร์ธานีที่สนใจและรักในศาสตร์การแสดงหนังตะลุงสู่บัณฑิตสาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่ต้องการต่อยอด “หนังตะลุง” ด้วยองค์ความรู้และการพัฒนาศาสตร์การแสดง และอาชีพดั้งเดิมนี้อย่างเป็นองค์รวม 💐💙
📖 ชวนอ่านบทความ "ทำไมบางเมืองถึงยอมแลกความเจริญกับการถูกถอดออกจากมรดกโลก"
✏️โดย นายพัชรพล สมพื้น นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
👉อ่านบทความได้ที่
ทำไมบางเมืองถึงยอมแลกความเจริญกับการถูกถอดออกจากมรดกโลก ชวนไปดูเหตุผลว่า ทำไมบางเมืองในโลกถึงยอมแลกความเจริญกับการถูกถอดออกจากทะเบียนมรดกโลก
📖 ชวนอ่านบทความ "สำรวจบทเพลงอมตะตลอดกาล ‘The Moon Represents My Heart’ ผ่านเรื่องราวของ ‘เติ้ง ลี่จวิน’ พระจันทร์แทนใจที่ไม่เคยหายไป"
✏️โดย นายอานันทสิทธิ์ ถือมาลา นิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
👉อ่านบทความได้ที่ https://urbancreature.co/the-moon-represents-my-heart/?
สำรวจบทเพลงอมตะตลอดกาล ‘The Moon Represents My Heart’ ผ่านเรื่องราวของ ‘เติ้ง ลี่จวิน’ พระจันทร์แทนใจที่ไ เพลง The Moon Represents My Heart จากเติ้ง ลี่จวิน ปล่อยออกมาในปี 1977 ด้วยแก้วเสียงใสบวกกับเนื้อเพลงสุดกินใจ ทำให้เพลงนี้ได้ร...
The Ministry of Education - Taipei National University of the Arts (MOE-TNUA) Elite Scholarship program is inviting Doctoral/ Masters Degree-seeking lecturers or professors from South and Southeast Asia to apply to our 2024 intake!
For more information, visit bit.ly/MOETNUAElite2024 📚🇹🇼
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 นิสิตสาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้จัดนิทรรศการและนำเสนอผลการศึกษาจากกรณีศึกษาธุรกิจที่มีสินค้าหรือบริการทางด้านศิลปวัฒนธรรมในมิติทางด้านการตลาดวัฒนธรรมในประเด็นต่าง ๆ อาทิ Value Proposition, SWOT Analysis, STP Marketing และ Communication Marketing ณ หอศิลปกรรมศาสตร์ ชั้น 2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
📝 กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นกศ 208 การตลาดและเศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการทางศิลปวัฒนธรรม อาจารย์ผู้สอน อาจารย์คงติภูมิ มณีโชค
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
🏆 ผลงานสื่อสร้างสรรค์การจัดการองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “สืบสานศิลป์ ถิ่นหัวโขน” โดยคณะผู้จัดทำได้จัดเก็บและเผยแพร่องค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของศิลปะการแสดงโขนของบ้านรักษ์หัวโขน แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร ซึ่งผลงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นกศ 205 นวัตกรรมการจัดการความรู้ทางศิลปวัฒนธรรม รับผิดชอบรายวิชาโดย อาจารย์ ดร.กษิด์เดช เนื่องจำนงค์
🔹 ผลงานโดย
นางสาวชาธิณี สังข์ทอง
นางสาวธิดารัตน์ เพ็ชรนวล
นางสาวภัควลัญชญ์ บุญเพชร
นางสาวอภิชญา ภายหลัง
นางสาวรัฐวรรณ ปั้นศิริ
นางสาวธนัตถ์อร ลิขิตพิทยตระกูล
นางสาวภิญญาพัชญ์ อริยะนิธินนท์
นางสาวอนัญญา เกษรศิริ
🔸 นิสิตชั้นปีที่ 2 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
🔗 ลิงก์ https://www.youtube.com/watch?v=0TusuGXb7do
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
การจัดการองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “สืบสานศิลป์ ถิ่นหัวโขน” นิสิตชั้นปีที่ 2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
🏆 ผลงาน Grip Tok KHON: Masked dance drama in Thailand เป็นผลงานสร้างสรรค์โดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของศิลปะการแสดงโขนมาออกแบบและพัฒนาเป็น Grip Tok ที่สามารถใช้งานได้จริงในชีวิตประจำวันและยังสะท้อนให้เห็นถึงอัตลัษณ์ของหัวโขน ซึ่งประกอบไปด้วยตัวละครสำคัญในการแสดงโขน ได้แก่ หนุมาน ทศกัณฐ์ พระราม และนางสีดา ซึ่งผลงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นกศ 205 นวัตกรรมการจัดการความรู้ทางศิลปวัฒนธรรม รับผิดชอบรายวิชาโดย อาจารย์ ดร.กษิด์เดช เนื่องจำนงค์
🔹 ผลงานโดย
นางสาวชาธิณี สังข์ทอง
นางสาวธิดารัตน์ เพ็ชรนวล
นางสาวภัควลัญชญ์ บุญเพชร
นางสาวอภิชญา ภายหลัง
นางสาวรัฐวรรณ ปั้นศิริ
นางสาวธนัตถ์อร ลิขิตพิทยตระกูล
นางสาวภิญญาพัชญ์ อริยะนิธินนท์
นางสาวอนัญญา เกษรศิริ
🔸 นิสิตชั้นปีที่ 2 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
🏆 ผลงานสติกเกอร์ไลน์ KHON: Masked dance drama in Thailand ประกอบด้วยสติกเกอร์ไลน์ 3 ชุด ได้แก่ ชุดหนุมาน (Hanuman: Personality life) ชุดทศกัณฐ์ (Thodsakhan: Daily Life) และชุดพระรามและนางสีดา (Cute Couple: Rama & Sita) โดยคณะผู้จัดทำได้ประยุกต์ใช้องค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของศิลปะการแสดงโขนมาออกแบบและพัฒนาเป็นสติกเกอร์ไลน์ดังกล่าว ผลงานดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา นกศ 205 นวัตกรรมการจัดการความรู้ทางศิลปวัฒนธรรม รับผิดชอบรายวิชาโดย อาจารย์ ดร.กษิด์เดช เนื่องจำนงค์
🔹 ผลงานโดย
นางสาวชาธิณี สังข์ทอง
นางสาวธิดารัตน์ เพ็ชรนวล
นางสาวภัควลัญชญ์ บุญเพชร
นางสาวอภิชญา ภายหลัง
นางสาวรัฐวรรณ ปั้นศิริ
นางสาวธนัตถ์อร ลิขิตพิทยตระกูล
นางสาวภิญญาพัชญ์ อริยะนิธินนท์
นางสาวอนัญญา เกษรศิริ
🔸 นิสิตชั้นปีที่ 2 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
”ชานปิ่เลย์ นีออนมอญ“ การเดินทางของดอกกุหลาบมอญ จากหงสางดีสู่มอญพระประแดง ผลงานศิลปวัฒนธรรมนิพนธ์ของนิสิตชั้นปีที่ 4 สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ขอขอบคุณนิตยสาร TRAVEL@SAMUTPRAKAN Samutprakan Travel Magazine มา ณ ที่นี้ครับผม 🙏
#ชานปิ่เลย์นีออนมอญ #ศิลปวัฒนธรรมนิพนธ์
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
Congratulation!! 🎉🎉🎉
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตทุกท่านที่สำเร็จการศึกษา และเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา 2565 ด้วยความภูมิใจยิ่ง 💙💙💙
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
ขอขอบคุณหนังสือพิมพ์มติชน Matichon Online - มติชนออนไลน์ มา ณ ที่นี้ครับผม 🙏
#ชานปิ่เลย์นีออนมอญ #ศิลปวัฒนธรรมนิพนธ์
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2566 นิสิตสาขาวิชานวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการมรดกวัฒนธรรมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมจัดกิจกรรมการจัดการมรดกวัฒนธรรมเพื่อความยั่งยืนของชุมชนมัสยิดยะวา ณ มัสยิดยะวา เเละโรงเรียนอนุบาลอนันตศานติ โดยภายในงานมีกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ
🖼️ นิทรรศการประวัติความเป็นมาของชุมชนมัสยิดยะวา
💐 กิจกรรม Workshop การทำดอกไม้ไข่
🎨 กิจกรรม Workshop ระบายสีทรัพยากรทางวัฒนธรรมภายในชุมชนมัสยิดยะวา
👩🏻🍳สุดพิเศษกว่าใครภายในงานมีอาหารเเละขนม เมนูสุดสำคัญภายในชุมชนมัสยิดยะวา
📝 กิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม รับผิดชอบรายวิชาโดย รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร วัฒนาสวัสดิ์ และอาจารย์ ดร.กษิด์เดช เนื่องจำนงค์
#ทีมนวัตกรรมการจัดการศิลปวัฒนธรรม
#ทีมศิลปกรรมศาสตร์ #ทีมมศว
คลิกที่นี่เพื่อเป็นสมาชิก?
วิดีโอทั้งหมด (แสดงผลทั้งหมด)
ประเภท
ติดต่อ ธุรกิจของเรา
เว็บไซต์
ที่อยู่
Srinakharinwirot University, Sukhumvit 23 (Soi Prasarnmitr)
Bangkok
10110
เวลาทำการ
จันทร์ | 08:30 - 16:30 |
อังคาร | 08:30 - 16:30 |
พุธ | 08:30 - 16:30 |
พฤหัสบดี | 08:30 - 16:30 |
ศุกร์ | 08:30 - 16:30 |